ตัวชี้วัดที่ 011.2: ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง เขตฯ 09

77 Provinces KPI Template
Map

ร้อยละ

73.72

ค่าเป้าหมาย
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
>= 60.00 >= 60.00 >= 75.00 >= 85.00
Chart

ผลงานรวม เขตฯ 09

ร้อยละ 73.72

จำนวนที่ผ่าน

2 50%

จำนวนที่ไม่ผ่าน

2 50%

(ข้อมูลจาก HDC : 9 พฤษภาคม 2567 12:10)
View/Download monthly report.
View

ระบบจะตัดข้อมูลทุกวันที่ 10 ของเดือนโดยอัตโนมัติ

Data
Print
แสดง 1 ถึง 4 จาก 4 ผลลัพธ์
จังหวัดQ1 (>= 60.00)Q2 (>= 60.00)Q3 (>= 75.00)Q4 (>= 85.00)FilesLast update
นครราชสีมา31,72847,81166.3673.1166.6966.3666.362024-05-07 00:10:10
บุรีรัมย์13,30114,70290.4791.9290.5190.4790.472024-05-09 00:10:11
สุรินทร์13,76217,01480.8985.4981.7980.8980.892024-05-09 00:10:11
ชัยภูมิ9,33512,88072.4883.4673.3572.4872.482024-05-09 00:10:13
 68,12692,40773.72      
KPI Template

รายละเอียดตัวชี้วัด.

ตัวแปร

A = จำนวนประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบ วัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (ทำ Home Blood Pressure Monitoring (HBPM)) ติดต่อกันอย่างน้อย 7 วัน โดยจะต้องได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (ภายใน 1 - 90 วัน ก่อนสิ้นปีงบประมาณ) หรือ การตรวจวัดความดันโลหิตซ้ำในสถานบริการสาธารณสุขเดิม (ภายใน 1 - 90 วัน ก่อนสิ้นปีงบประมาณ) ด้วยวิธีการวัดความดันโลหิตที่ถูกต้องตามมาตรฐาน ตามแนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ.2562 หลังจากได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงที่สถานบริการสาธารณสุข หรือในชุมชนแล้ว เพื่อรับการวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง หมายเหตุ: กรณีได้วัดความดันโลหิตช้ำด้วยวิธีการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน (ทำ Home Blood Pressure Monitoring (HBPM)) และได้รับการวัดความดันโลหิตช้ำในสถานบริการสาธารณสุขเดิม การประมวลผลจะใช้ผลจากการวัดความดันโลหิตช้ำจาก HBPM เป็นหลัก (คน)

B = จำนวนประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงในปีงบประมาณและเป็นกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง (คน)

สูตรคำนวณ (A/B)*100
เกณฑ์เป้าหมาย >= ร้อยละ 85
Download
ประวัติการปรับปรุง Template
View more
รายละเอียด KPI Template >>
ประวัติการบันทึก
Today
log