สสจ.นครศรีธรรมราช

Displayname-
Note

จังหวัดนครศรีธรรมราช แบ่งการปกครองออกเป็น 23 อำเภอ มีการดำเนินการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ พ.ศ. 2561 ครบทุกอำเภอ คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งกระบวนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ตั้งแต่ปี 2560 – 2562 ประกอบด้วย

1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

2) มีการประชุม ทบทวนคัดเลือกประเด็นที่สำคัญตามบริบทในพื้นที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตมาดำเนินการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหา อย่างน้อย 2 ประเด็น

3) พื้นที่ดำเนินการประเมินตนเองตามประเด็นปัญหาการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามองค์ประกอบ UCCARE

4) มีการเยี่ยมเสริมพลังระดับจังหวัดโดยการบูรณาการร่วมกับการนิเทศงานระดับจังหวัด และการประเมิน รพ.สต.ติดดาว ระดับจังหวัด  

2. ปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อน

2.1 การมีนโยบาย การให้ความสำคัญและสนับสนุนการดำเนินงาน พชอ. ของผู้บริหารทุกระดับของ

กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงมหาดไทย

2.2 การนำเจตนารมณ์ของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่

พ.ศ. 2561 ไปสู่การปฏิบัติจริงในพื้นที่

          2.3 กลไกการติดตามการดำเนินงาน พชอ. ระดับจังหวัด โดยกำหนดให้ พชอ. เป็นวาระการติดตามของที่ประชุมกรมการจังหวัดทุกเดือน

          2.4 การแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน/คณะอนุกรรมการ เพิ่มเติม เพื่อขับเคลื่อนประเด็นที่สำคัญตามบริบทในพื้นที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต (ODOP) ในระดับตำบล และ ระดับหมู่บ้าน เช่น คณะกรรมการ พชต. คณะกรรมการ พชม.

จังหวัดนครศรีธรรมราช แบ่งการปกครองออกเป็น 23 อำเภอ มีการดำเนินการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ พ.ศ. 2561 ครบทุกอำเภอ คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งกระบวนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ตั้งแต่ปี 2560 – 2562 ประกอบด้วย

1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

2) มีการประชุม ทบทวนคัดเลือกประเด็นที่สำคัญตามบริบทในพื้นที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตมาดำเนินการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหา อย่างน้อย 2 ประเด็น

3) พื้นที่ดำเนินการประเมินตนเองตามประเด็นปัญหาการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามองค์ประกอบ UCCARE

4) มีการเยี่ยมเสริมพลังระดับจังหวัดโดยการบูรณาการร่วมกับการนิเทศงานระดับจังหวัด และการประเมิน รพ.สต.ติดดาว ระดับจังหวัด  

2. ปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อน

      2.1 การมีนโยบาย การให้ความสำคัญและสนับสนุนการดำเนินงาน พชอ. ของผู้บริหารทุกระดับของ

กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงมหาดไทย

      2.2 การนำเจตนารมณ์ของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่

พ.ศ. 2561 ไปสู่การปฏิบัติจริงในพื้นที่

          2.3 กลไกการติดตามการดำเนินงาน พชอ. ระดับจังหวัด โดยกำหนดให้ พชอ. เป็นวาระการติดตามของที่ประชุมกรมการจังหวัดทุกเดือน

          2.4 การแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน/คณะอนุกรรมการ เพิ่มเติม เพื่อขับเคลื่อนประเด็นที่สำคัญตามบริบทในพื้นที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต (ODOP) ในระดับตำบล และ ระดับหมู่บ้าน เช่น คณะกรรมการ พชต. คณะกรรมการ พชม.จังหวัดนครศรีธรรมราช แบ่งการปกครองออกเป็น 23 อำเภอ มีการดำเนินการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ พ.ศ. 2561 ครบทุกอำเภอ คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งกระบวนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ตั้งแต่ปี 2560 – 2562 ประกอบด้วย

1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

2) มีการประชุม ทบทวนคัดเลือกประเด็นที่สำคัญตามบริบทในพื้นที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตมาดำเนินการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหา อย่างน้อย 2 ประเด็น

3) พื้นที่ดำเนินการประเมินตนเองตามประเด็นปัญหาการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามองค์ประกอบ UCCARE

4) มีการเยี่ยมเสริมพลังระดับจังหวัดโดยการบูรณาการร่วมกับการนิเทศงานระดับจังหวัด และการประเมิน รพ.สต.ติดดาว ระดับจังหวัด  

2. ปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อน

2.1 การมีนโยบาย การให้ความสำคัญและสนับสนุนการดำเนินงาน พชอ. ของผู้บริหารทุกระดับของ

กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงมหาดไทย

2.2 การนำเจตนารมณ์ของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่

พ.ศ. 2561 ไปสู่การปฏิบัติจริงในพื้นที่

          2.3 กลไกการติดตามการดำเนินงาน พชอ. ระดับจังหวัด โดยกำหนดให้ พชอ. เป็นวาระการติดตามของที่ประชุมกรมการจังหวัดทุกเดือน

          2.4 การแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน/คณะอนุกรรมการ เพิ่มเติม เพื่อขับเคลื่อนประเด็นที่สำคัญตามบริบทในพื้นที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต (ODOP) ในระดับตำบล และ ระดับหมู่บ้าน เช่น คณะกรรมการ พชต. คณะกรรมการ พชม.

จังหวัดนครศรีธรรมราช แบ่งการปกครองออกเป็น 23 อำเภอ มีการดำเนินการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ พ.ศ. 2561 ครบทุกอำเภอ คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งกระบวนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ตั้งแต่ปี 2560 – 2562 ประกอบด้วย

1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

2) มีการประชุม ทบทวนคัดเลือกประเด็นที่สำคัญตามบริบทในพื้นที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตมาดำเนินการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหา อย่างน้อย 2 ประเด็น

3) พื้นที่ดำเนินการประเมินตนเองตามประเด็นปัญหาการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามองค์ประกอบ UCCARE

4) มีการเยี่ยมเสริมพลังระดับจังหวัดโดยการบูรณาการร่วมกับการนิเทศงานระดับจังหวัด และการประเมิน รพ.สต.ติดดาว ระดับจังหวัด  

2. ปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อน

2.1 การมีนโยบาย การให้ความสำคัญและสนับสนุนการดำเนินงาน พชอ. ของผู้บริหารทุกระดับของ

กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงมหาดไทย

2.2 การนำเจตนารมณ์ของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่

พ.ศ. 2561 ไปสู่การปฏิบัติจริงในพื้นที่

          2.3 กลไกการติดตามการดำเนินงาน พชอ. ระดับจังหวัด โดยกำหนดให้ พชอ. เป็นวาระการติดตามของที่ประชุมกรมการจังหวัดทุกเดือน

          2.4 การแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน/คณะอนุกรรมการ เพิ่มเติม เพื่อขับเคลื่อนประเด็นที่สำคัญตามบริบทในพื้นที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต (ODOP) ในระดับตำบล และ ระดับหมู่บ้าน เช่น คณะกรรมการ พชต. คณะกรรมการ พชม.

จังหวัดนครศรีธรรมราช แบ่งการปกครองออกเป็น 23 อำเภอ มีการดำเนินการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ พ.ศ. 2561 ครบทุกอำเภอ คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งกระบวนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ตั้งแต่ปี 2560 – 2562 ประกอบด้วย

1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

2) มีการประชุม ทบทวนคัดเลือกประเด็นที่สำคัญตามบริบทในพื้นที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตมาดำเนินการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหา อย่างน้อย 2 ประเด็น

3) พื้นที่ดำเนินการประเมินตนเองตามประเด็นปัญหาการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามองค์ประกอบ UCCARE

4) มีการเยี่ยมเสริมพลังระดับจังหวัดโดยการบูรณาการร่วมกับการนิเทศงานระดับจังหวัด และการประเมิน รพ.สต.ติดดาว ระดับจังหวัด  

2. ปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อน

2.1 การมีนโยบาย การให้ความสำคัญและสนับสนุนการดำเนินงาน พชอ. ของผู้บริหารทุกระดับของ

กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงมหาดไทย

2.2 การนำเจตนารมณ์ของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่

พ.ศ. 2561 ไปสู่การปฏิบัติจริงในพื้นที่

          2.3 กลไกการติดตามการดำเนินงาน พชอ. ระดับจังหวัด โดยกำหนดให้ พชอ. เป็นวาระการติดตามของที่ประชุมกรมการจังหวัดทุกเดือน

          2.4 การแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน/คณะอนุกรรมการ เพิ่มเติม เพื่อขับเคลื่อนประเด็นที่สำคัญตามบริบทในพื้นที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต (ODOP) ในระดับตำบล และ ระดับหมู่บ้าน เช่น คณะกรรมการ พชต. คณะกรรมการ พชม.

จังหวัดนครศรีธรรมราช แบ่งการปกครองออกเป็น 23 อำเภอ มีการดำเนินการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ พ.ศ. 2561 ครบทุกอำเภอ คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งกระบวนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ตั้งแต่ปี 2560 – 2562 ประกอบด้วย

1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

2) มีการประชุม ทบทวนคัดเลือกประเด็นที่สำคัญตามบริบทในพื้นที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตมาดำเนินการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหา อย่างน้อย 2 ประเด็น

3) พื้นที่ดำเนินการประเมินตนเองตามประเด็นปัญหาการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามองค์ประกอบ UCCARE

4) มีการเยี่ยมเสริมพลังระดับจังหวัดโดยการบูรณาการร่วมกับการนิเทศงานระดับจังหวัด และการประเมิน รพ.สต.ติดดาว ระดับจังหวัด  

2. ปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อน

2.1 การมีนโยบาย การให้ความสำคัญและสนับสนุนการดำเนินงาน พชอ. ของผู้บริหารทุกระดับของ

กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงมหาดไทย

2.2 การนำเจตนารมณ์ของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่

พ.ศ. 2561 ไปสู่การปฏิบัติจริงในพื้นที่

          2.3 กลไกการติดตามการดำเนินงาน พชอ. ระดับจังหวัด โดยกำหนดให้ พชอ. เป็นวาระการติดตามของที่ประชุมกรมการจังหวัดทุกเดือน

          2.4 การแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน/คณะอนุกรรมการ เพิ่มเติม เพื่อขับเคลื่อนประเด็นที่สำคัญตามบริบทในพื้นที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต (ODOP) ในระดับตำบล และ ระดับหมู่บ้าน เช่น คณะกรรมการ พชต. คณะกรรมการ พชม.

จังหวัดนครศรีธรรมราช แบ่งการปกครองออกเป็น 23 อำเภอ มีการดำเนินการขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ พ.ศ. 2561 ครบทุกอำเภอ คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งกระบวนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ตั้งแต่ปี 2560 – 2562 ประกอบด้วย

1) มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

2) มีการประชุม ทบทวนคัดเลือกประเด็นที่สำคัญตามบริบทในพื้นที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตมาดำเนินการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหา อย่างน้อย 2 ประเด็น

3) พื้นที่ดำเนินการประเมินตนเองตามประเด็นปัญหาการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามองค์ประกอบ UCCARE

4) มีการเยี่ยมเสริมพลังระดับจังหวัดโดยการบูรณาการร่วมกับการนิเทศงานระดับจังหวัด และการประเมิน รพ.สต.ติดดาว ระดับจังหวัด  

2. ปัจจัยสำคัญในการขับเคลื่อน

2.1 การมีนโยบาย การให้ความสำคัญและสนับสนุนการดำเนินงาน พชอ. ของผู้บริหารทุกระดับของ

กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงมหาดไทย

2.2 การนำเจตนารมณ์ของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่

พ.ศ. 2561 ไปสู่การปฏิบัติจริงในพื้นที่

          2.3 กลไกการติดตามการดำเนินงาน พชอ. ระดับจังหวัด โดยกำหนดให้ พชอ. เป็นวาระการติดตามของที่ประชุมกรมการจังหวัดทุกเดือน

          2.4 การแต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงาน/คณะอนุกรรมการ เพิ่มเติม เพื่อขับเคลื่อนประเด็นที่สำคัญตามบริบทในพื้นที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต (ODOP) ในระดับตำบล และ ระดับหมู่บ้าน เช่น คณะกรรมการ พชต. คณะกรรมการ พชม.

Last Update2020-10-20 10:06:10
ภาพกิจกรรม
Attached Files
รายงาน Quick Win ไตรมาส 1
รายงาน Quick Win ไตรมาส 2
รายงาน Quick Win ไตรมาส 3
รายงาน Quick Win ไตรมาส 4