ร้อยละการจัดการระบบสุขภาพ

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละการจัดการระบบสุขภาพ
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2561
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่067.2
Sort Order0
คำนิยาม

Health Information Exchange (HIE) หมายถึง การแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพของผู้ป่วยระหว่างหน่วยงานในระบบสุขภาพ เพื่อการจัดการระบบสุขภาพ การเยี่ยม ติดตาม เฝ้าระวัง และดูแลผู้ป่วยในพื้นที่รับผิดชอบ หรือรับไว้รักษาต่อเนื่อง

          1.“การแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพ” หมายถึง การแลกเปลี่ยนข้อมูลตามโครงสร้าง มาตรฐานข้อมูลด้านสุขภาพ (43 แฟ้ม) ของกระทรวงสาธารณสุข ที่มีในคลังข้อมูล การแพทย์และสุขภาพ (HDC) ตามขอบเขตที่กำหนดไว้ เช่น ข้อมูลบุคคล ข้อมูลสุขภาพ ตามกลุ่มวัย น้ำหนัก ส่วนสูง ค่า BMI ข้อมูลการได้รับวัคซีน ข้อมูลการฝากครรภ์ ข้อมูล    การคัดกรอง ข้อมูลโภชนาการ และข้อมูลการเฝ้าระวังในกลุ่มโรคเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นต้น โดยใช้ข้อมูลในลักษณะของ Data Exchange ระหว่างหน่วยบริการ        ในระบบด้วยกัน และการนำข้อมูล Data Exchange ในแต่ละรายการไปใช้ประโยชน์

          2.“การจัดการระบบสุขภาพ” หมายถึง การให้บริการข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็น   ในการขึ้นทะเบียนขอทำบัตรประจำตัวผู้ป่วยใหม่ของสถานบริการ หรือการร้องขอตรวจสอบ ข้อมูล (Update) ที่เป็นปัจจุบัน ผ่านระบบ Web Service และ ฐานข้อมูลกลาง (Smart Health ID) ของกระทรวงสาธารณสุข เช่น ข้อมูลบุคคล ข้อมูลที่อยู่ ข้อมูลการแพ้ยา และข้อมูลสิทธิ์การรักษาพยาบาลเบื้องต้น โดยกลุ่มเป้าหมายในปีงบประมาณ 2561 เป็น ระดับโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไป 116 แห่ง

          “หน่วยบริการ” หมายถึง สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่ง ที่จัดส่งข้อมูลตาม โครงสร้างมาตรฐานข้อมูลด้านสุขภาพ (43 แฟ้ม) ของกระทรวงสาธารณสุข

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aแห่ง
นิยามของค่า Aจำนวนโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไปที่เข้าใช้งานในระบบ Smart Health ID
หน่วยของค่า Bแห่ง
นิยามของค่า Bจำนวนโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปทุกแห่ง 116 แห่ง
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ60
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย1.โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ที่จัดส่งข้อมูลตามมาตรฐานข้อมูลด้านสุขภาพ (43 แฟ้ม) ของกระทรวงสาธารณสุข 2.โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง จำนวน 116 แห่ง
ค่าเป้าหมาย60.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. เก็บ Log Files การใช้งาน Data Exchange ของหน่วยบริการ ผ่าน ในระบบ HDC on Cloud หรือ HDC Service คลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ (Health Data Center) กระทรวงสาธารณสุข

2. เก็บ Log Files การใช้งานการเรียกใช้งาน Web Service ผ่านระบบ Smart Health ID กระทรวงสาธารณสุข

แหล่งข้อมูล

1. ระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ (HDC)

2. ระบบ Smart Health ID

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 2 และ 4 (เดือน มีนาคม, สิงหาคม)
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2558

2559

2560

 

ร้อยละ

-

-

 

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2561 :
 

 

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1.การแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพ

ร้อยละ 40

ร้อยละ 50

ร้อยละ 60

ร้อยละ 70

2.การจัดการระบบสุขภาพ

ร้อยละ 30

ร้อยละ 40

ร้อยละ 50

ร้อยละ 60

 

ปี 2562 :

 

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1.การแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพ

 

 

 

 

2.การจัดการระบบสุขภาพ

 

 

 

 

 

ปี 2563 :

 

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1.การแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพ

 

 

 

 

2.การจัดการระบบสุขภาพ

 

 

 

 

 

ปี 2564 :

 

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1.การแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพ

 

 

 

 

2.การจัดการระบบสุขภาพ

 

 

 

 

 
วิธีการประเมินผล

1.“การแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพ”

          ตรวจสอบการใช้งาน Data Exchange ของหน่วยบริการ ผ่าน Log Files ในระบบ HDC on Cloud หรือ HDC Service คลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ (Health Data Center) กระทรวงสาธารณสุข เพื่อเน้นการใช้ประโยชน์จากข้อมูลจริงหน่วยบริการ

 

ตัวอย่าง

          ระบบ Data Exchange มีจำนวนเรื่องทั้งหมด 10 เรื่อง เก็บ Log การเข้าใช้งานราย หน่วยบริการ ในแต่ละเดือน เป้าหมายประเมิน 2 ครั้ง ประมาณเดือน มีนาคม และ สิงหาคม ฉะนั้นใน 1 เดือน หน่วยบริการ ควรเข้าใช้ครบ 10 เรื่อง 10 ครั้ง ถ้าประเมินทั้ง 12 เดือน จะเท่ากับ 120 ครั้ง/หน่วยบริการ จังหวัด ก มีหน่วยบริการ 130 แห่ง กรณีที่ ประเมินรอบที่ 1 เดือนมีนาคม ถ้านับ 6 เดือน จะใช้จำนวนครั้ง ที่หน่วยบริการเรียกใช้ ระบบ Data Exchange อย่างน้อย 1 ครั้ง/เรื่อง/เดือน/หน่วยบริการ     เป็นเกณฑ์ กรณีเรื่อง ไหนเรียกใช้มากกว่า 1 ครั้ง/เดือน ให้นับ 1 ครั้งเท่านั้น ผลการดำเนินงานตามรอบ 6 เดือน เช่น หน่วยบริการในจังหวัด ก เข้าใช้งานตามเงื่อนไขได้เท่ากับ 5,200 ครั้ง/130 แห่ง ก็จะมีผลการดำเนินงาน คิดเป็นร้อยละ (5,200x100)/15,600 เท่ากับ 33.33 เป็นต้น

2.“การจัดการระบบสุขภาพ”

          ตรวจสอบการเรียกใช้งาน Web Service ผ่านระบบรายงานและ Log Files ของ ระบบ Smart Health ID กระทรวงสาธารณสุข โดยนับจำนวนหน่วยบริการ จำนวนครั้ง ความถี่ที่เรียกใช้งาน ในแต่ละเดือน รายคน(ตาม CID) รายครั้ง รายโรงพยาบาล และราย จังหวัด แต่ในปีงบประมาณ 2561 จะประเมินการเข้าถึงและใช้งานระบบ เท่านั้น

ตัวอย่าง

          นับจำนวนโรงพยาบาลที่เข้าใช้งานในระบบ Smart Health ID ของกระทรวง สาธารณสุข โดยถือการ Connect เข้าใช้งานระบบและเรียกดูข้อมูล โดยไตรมาสที่ 1 ต้อง ดำเนินการได้อย่างน้อย ร้อยละ 30 จ านวน 35 แห่ง และไตรมาสที่ 2 ต้องดำเนินการได้ อย่างน้อย ร้อยละ 40 จำนวน 46 แห่ง เปรียบเทียบกับจำนวนโรงพยาบาลศูนย์/ โรงพยาบาลทั่วไป ทั้งหมด 116 แห่ง ไตรมาสที่ 1 คิดเป็นร้อยละ 35x100/116 เท่ากับ 30.17 เป็นต้น

เอกสารสนับสนุน

1. คู่มือการปฏิบัติงานการจัดเก็บและจัดส่งข้อมูลตามโครงสร้างมาตรฐานข้อมูลด้านสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข จัดทำโดย กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. มาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบงานด้านสาธารณสุข

3. ชุดมาตรฐานข้อมูลระบบประวัติสุขภาพผู้ป่วยอิเล็กทรอนิกส์ ข้อมูลระบบระเบียน สุขภาพส่วนบุคคล ตามมติคณะกรรมการพัฒนาระบบระเบียนสุขภาพส่วนบุคคล (PHRs) ครั้งที่ 3/2560 เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2560 ซึ่งแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ

                   1) กลุ่มข้อมูลที่ประชาชนดูแลตัวเอง ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ เช่น อาหาร อารมณ์ การออกกำลังกาย ประวัติการสูบบุหรี่ ดื่มสุรา ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต

                   2) กลุ่มข้อมูลสำหรับประชาชน เช่น ข้อมูลทั่วไป เช่น ชื่อ-นามสกุล, อายุ, เพศ, ส่วนสูง, โรคประจำตัว, การแพ้ยา, กรุ๊ปเลือด เป็นต้น ข้อมูลการตรวจสุขภาพ ข้อมูล สุขภาพตามกลุ่มวัยข้อมูลการรักษาพยาบาล

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1.นางทิพย์วรรณ ยงศิริวิทย์                 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ช านาญการพิเศษ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901210      โทรศัพท์มือถือ : 081-7804100

   โทรสาร : 02-5901215                 E-mail : thippawan.y@moph.mail.go.th

2.นางรุ่งนิภา  อมาตยคง                    นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901169      โทรศัพท์มือถือ : 087-0276663

   โทรสาร : 02-5901215                E-mail : ict-moph@health.moph.go.th

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางรุ่งนิภา  อมาตยคง                    นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901169       โทรศัพท์มือถือ : 087-0276663

    โทรสาร : 02-5901215                 E-mail : ict-moph@health.moph.go.th

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>