ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2561
ระดับตัวชี้วัดจังหวัด
ตัวชี้วัดที่026.2
Sort Order0
คำนิยาม

ระดับความดันโลหิตที่ควบคุมได้ตามเป้าหมาย หมายถึง ค่าระดับความดันโลหิต 2 ครั้งสุดท้าย (SBP/DBP) น้อยกว่า 140/90 มม.ปรอท. (ให้ใช้ข้อมูลจากแฟ้ม CHRONICFU) ในปีงบประมาณที่วิเคราะห์ ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจะมีโรคเบาหวานร่วมด้วยหรือไม่

ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ หมายถึง ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการวินิจฉัยโรคด้วยรหัส = I10 - I15 และ Type area = 1 และ 3

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบที่ควบคุมระดับ ความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B) x 100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมาย
ประชากรกลุ่มเป้าหมายผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ (Type area 1 และ 3)
ค่าเป้าหมาย50.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

บันทึกผ่านโปรแกรมพื้นฐานของหน่วยบริการ และส่งออกข้อมูลตามมาตรฐานข้อมูล          43 แฟ้ม

แหล่งข้อมูล

ใช้ฐานข้อมูล HDC กระทรวงสาธารณสุข

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags43 แฟ้ม
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 4 หมายเหตุ : ใช้ข้อมูล ณ วันที่ 31 สิงหาคม ของปีงบประมาณที่วิเคราะห์
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2558

2559

2560

ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี

ร้อยละ

22.82

27.00

 

32.45

รอบ 9 เดือน (จากระบบ HDC ข้อมูล ณ 30 มิ.ย.60)

หมายเหตุ : ข้อมูล จาก HDC กระทรวงสาธารณสุข

เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2561 – 2564 :

 

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ความดันโลหิตสูง

-

-

-

มากกว่าหรือเท่ากับ 50%

 
วิธีการประเมินผล

1. วัดผลลัพธ์จากรายงานตัวชี้วัดร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี

2. วัดผลลัพธ์จากรายงานตัวชี้วัดร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดัน 

    โลหิตได้ดี

เอกสารสนับสนุน

1. แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวานปี 2557

2. คู่มือการจัดบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงานแบบบูรณาการ 2558

3. แนวทางการรักษาการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป ฉบับปรับปรุง 2558

4. รูปแบบการบริการป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง สำหรับการ

   ดำเนินงาน NCD Clinic Plus

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นายแพทย์ดิเรก  ขำแป้น                 ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903982       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5903973                 E-mail : dr.tum@hotmail.com

2. แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ             รองผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903985        โทรศัพท์มือถือ : 081-3415408

   โทรสาร : 02-5903973                            E-mail : jurekong@gmail.com

3. แพทย์หญิงสุมนี  วัชรสินธุ์                 หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903963        โทรศัพท์มือถือ :

   โทรสาร : 02-5903964                            E-mail : wsu_1978@hotmail.com

สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. แพทย์หญิงสุมนี  วัชรสินธุ์                 หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903963        โทรศัพท์มือถือ :

   โทรสาร : 02-5903964                            E-mail : wsu_1978@hotmail.com

สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>