ร้อยละผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพที่ให้หน่วยงานต่างๆนำไปใช้ประโยชน์

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพที่ให้หน่วยงานต่างๆนำไปใช้ประโยชน์
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2560
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่093
Sort Order0
คำนิยาม

ผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพ หมายถึง องค์ความรู้ทางการพยาบาล/การแพทย์/การสาธารณสุขที่ผ่านการวิจัย/พัฒนา ได้แก่ นิพนธ์ต้นฉบับ (original article) บทปฏิทัศน์ (review  article)  บทความพิเศษ (special article) บทความฟื้นวิชา (refresher course) รายงานเบื้องต้น (preliminary report) หรือรายงานสังเขป (short communication) รายงานผู้ป่วย (case report) ปกิณกะ (miscellany) และนวัตกรรม (innovation) ผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพที่ให้หน่วยงานต่าง ๆ นำไปใช้ประโยชน์ หมายถึง องค์ความรู้ทางการพยาบาล/การแพทย์/การสาธารณสุขที่ผ่านการวิจัย/พัฒนา ได้รับการถ่ายทอด เผยแพร่สู่กลุ่มเป้าหมายที่กำหนดในช่องทาง/สื่อต่าง ๆ รวมถึงที่ได้เผยแพร่ในการประชุมวิชาการทั้งในระดับประเทศและต่างประเทศ และนำไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ที่ระบุในโครงการวิจัยหรือรายงานการวิจัย สามารถนำไปแก้ปัญหาได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยมีหลักฐานปรากฏอย่างชัดเจนถึงการนำไปใช้จนก่อให้เกิดประโยชน์ได้จริงอย่างชัดเจน หรือมีการใช้ประโยชน์เชิงวิชาการในการอ้างอิง (Citation) ในบทความวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aผลงาน
นิยามของค่า Aจำนวนผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพที่ให้หน่วยงานต่าง ๆ นำไปใช้ประโยชน์
หน่วยของค่า Bผลงาน
นิยามของค่า Bจำนวนผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพทั้งหมดที่ตีพิมพ์เผยแพร่ทางสื่อต่าง ๆ
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 20
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย1.ผลงานวิชาการ/วิจัยของบุคลากรทางการสาธารณสุขทุกระดับของสถานบริการสุขภาพ 2.ผลงานทางวิชาการ/วิจัยของบุคลากรทางการสาธารณสุขในส่วนกลาง
ค่าเป้าหมาย20.00
Max Value-
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1.การแจงนับผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพที่ผลิตโดย

  1.1 หน่วยงานเจ้าภาพของตัวชี้วัด (สำนักวิชาการสาธารณสุข)

  1.2 สถานบริการสุขภาพทุกระดับที่ส่งผลงานวิจัยเข้ารับเผยแพร่ในวารสารวิชาการทาง

       การแพทย์และสาธารณสุขของหน่วยงานในเขตสุขภาพ

  1.3 สถานบริการสุขภาพทุกระดับที่ส่งผลงานวิจัยเข้ารับเผยแพร่ในวารสารวิชาการ

       สาธารณสุขทางเว็บไซต์ของสำนักวิชาการสาธารณสุข

  1.4 สถานบริการสุขภาพทุกระดับที่ส่งผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพ เข้ารับการประกวด

       และผ่านการคัดเลือกเป็นผลงานวิชาการดีเด่น จากคณะกรรมการตัดสินในการ

       ประชุมวิชาการของกระทรวงสาธารณสุขประจำปี โดยสำนักวิชาการสาธารณสุข

  1.5 ผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพที่ผ่านการอ่านทบทวนจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขา และ

       บรรณาธิการวารสารวิชาการสาธารณสุข และได้รับการเผยแพร่ในวารสารวิชาการ  

       สาธารณสุขทางเว็บไซต์ของสำนักวิชาการสาธารณสุข ฯ โดยนับเริ่มตั้งแต่ฉบับที่ 6

       ของปีงบประมาณที่ผ่านมาถึงฉบับที่ 5 ของปีงบประมาณปัจจุบัน (วารสารวิชาการ

       สาธารณสุขผลิต 6 เล่ม/ปี)

2. การนิเทศติดตามประเมินผล

แหล่งข้อมูล

1.หน่วยงานส่วนกลาง

   1.1.สำนักวิชาการสาธารณสุข

2.สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
TagsPA,สตป.
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 4 (เดือนกันยายน)
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

ระดับความสำเร็จผลงานวิชาการได้รับการพัฒนาและนำไปถ่ายทอดเผยแพร่

ระดับ

117

115

114

 
เกณฑ์การประเมินผล

 

ปี 2560 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

20

 

ปี 2561 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

25

 

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

30

 

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

35

 

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน+

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

40

 
วิธีการประเมินผล

โดยการนับจำนวนผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพที่นำไปใช้ประโยชน์ โดยที่ผลงานวิจัยจะดำเนินการในช่วงเวลาใดก็ได้ กรณีที่งานวิจัย/R2R มีการนำไปใช้ประโยชน์มากกว่า      1 ครั้ง ให้นับการใช้ประโยชน์ได้เพียงครั้งเดียว

ประเภทของการใช้ประโยชน์จากงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพ มีดังนี้

1. เชิงเศรษฐกิจและพาณิชย์ ได้แก่ ได้รับหนังสือหรือหลักฐานอื่น แสดงความสนใจเพื่อ   เจราจาธุรกิจ มีการซื้อขายเทคโนโลยีระหว่างนักวิจัยและผู้นำไปใช้ประโยชน์ การจดลิขสิทธิ์ของผลิตภัณฑ์จากผลงานวิจัย

2. เชิงวิชาการ ได้แก่ การปรับแนวทางเวชปฏิบัติ การอ้างอิงผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ใน   วารสารวิชาการระดับประเทศและหรือระดับนานาชาติ

3. เชิงนโยบาย หมายถึง จำนวนผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพ ที่นำไปประกอบการตัดสินใจในการบริหาร และการกำหนดเป็นนโยบาย มาตรการ แนวทางสำคัญ ในการพัฒนาด้านส่งเสริม รักษา ป้องกัน ฟื้นฟูสภาพ และคุ้มครองผู้บริโภค โดยมีหลักฐานแสดงประกอบการนำไปใช้

4. เชิงการพัฒนาสังคมและชุมชน โดยการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ได้จากงานวิจัยในกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด เช่น อบรม คู่มือ แผ่นพับ โปสเตอร์ เว็บไซด์ฯ

เอกสารสนับสนุน

1. เว็ปไซต์ http://www.thailand.digitaljournals.org ในกรณีที่ผลงานวิจัย/R2R ได้        รับ

   รับการเผยแพร่ในวารสารวิชาการสาธารณสุขแล้ว   

2. ผลงานที่เป็นต้นฉบับสมบูรณ์ที่ได้รับการพิจารณาว่าเหมาะสมจากบรรณาธิการ ซึ่งพร้อม

   ที่จะเผยแพร่ 

3. บทคัดย่อผลงานวิจัย/R2R ด้านสุขภาพที่ได้รับการคัดเลือกให้นำเสนอในงานประชุม

   วิชาการกระทรวงสาธารณสุขประจำปี

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นางชนิดา กาจีนะ                         นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901718-9     โทรศัพท์มือถือ : 081-8066238

    โทรสาร : 02-5901718-9               E-mail : numaewssj@hotmail.com

2. ดร.จุฬาพร กระเทศ                       นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901718-9     โทรศัพท์มือถือ : 094-4899929

    โทรสาร : 02-5901718-9               E-mail : juraporn_krates@hotmail.com

 

3. นางมยุรี  จงศิริ                              นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทร  02-5919835                          โทรศัพท์มือถือ : 081-2616060

    โทรสาร : 02-5919835                 E-mail : research.moph@hotmail.com

4. นางพัชรวรรณ  แก้วศรีงาม               

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                        โทรศัพท์มือถือ : 089-7811748

    โทรสาร : 02-5919835                 E-mail : research.moph@hotmail.com

สำนักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

สำนักวิชาการสาธารณสุข  สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นายแพทย์ปฐม  สวรรค์ปัญญาเลิศ       ผู้ทรงคุณวุฒิด้านส่งเสริมสุขภาพ (นายแพทย์

                                                    ทรงคุณวุฒิ) (ด้านสาธารณสุข)

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901715       โทรศัพท์มือถือ : 081-6124480

    โทรสาร : 02-5901704                 E-mail : pathom@health.moph.go.th

2. ดร.ณัฏฐญา พัฒนะวาณิชนันท์            นักวิเคราะห์นโยบายและแผนทรงคุณวุฒิ

                                                    ด้านกำลังคนสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901716       โทรศัพท์มือถือ : 085-2476446

    โทรสาร : 02-5901704                 E-mail : nattaya-pa@hotmail.com

3. นางชนิดา กาจีนะ                         นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901718-9     โทรศัพท์มือถือ : 081-8066238

    โทรสาร : 02-5901718-9               E-mail : numaewssj@hotmail.com

4. ดร.จุฬาพร กระเทศ                       นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901718-9     โทรศัพท์มือถือ : 094-4899929

    โทรสาร : 02-5901718-9               E-mail : juraporn_krates@hotmail.com

5. นางมยุรี  จงศิริ                              นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5919835        โทรศัพท์มือถือ : 081-2616060

    โทรสาร : 02-5919835                 E-mail : research.moph@hotmail.com

6. นางพัชรวรรณ  แก้วศรีงาม               

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                        โทรศัพท์มือถือ : 089-7811748

    โทรสาร : 02-5919835                 E-mail : research.moph@hotmail.com

สำนักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>