ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2561
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่024
Sort Order0
คำนิยาม

จังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน หมายถึง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมีระบบและกลไก        เพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพใน 6 ประเด็น ดังนี้

1. มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

2. มีกลไกการจัดการปัจจัยเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อมอย่างบูรณาการ โดยขับเคลื่อนการ

   ดำเนินงาน ผ่านกลไกคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (คสจ.)

3. มีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของโรงพยาบาล รพศ./รพท./รพช

   สังกัดกระทรวงสาธารณสุขให้ถูกต้องตามกฎหมาย

4. มีการส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐาน (EHA)

5. มีการดำเนินงานเพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดตำบลที่มีชุมชนเข้มแข็งด้านอนามัย

   สิ่งแวดล้อม (Active Communities)

6. มีการจัดระบบเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อม

 

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aจังหวัด
นิยามของค่า Aจำนวนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืนผ่านเกณฑ์ในแต่ละระดับ
หน่วยของค่า Bจังหวัด
นิยามของค่า Bจำนวนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 90 ของจังหวัด ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน
ประชากรกลุ่มเป้าหมายสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด
ค่าเป้าหมาย90.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามเกณฑ์ตัวชี้วัด และจัดทำ

   รายงานผลการดำเนินงานตามแบบฟอร์มการรายงานและส่งให้ศูนย์อนามัย เป็น

   รายไตรมาส

2. ศูนย์อนามัยรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวมของเขตและจัดส่งข้อมูลให้

   กรมอนามัย ตามแบบฟอร์มการรายงาน พร้อมสำเนาแบบฟอร์มการรายงานรายจังหวัด

   เป็นรายไตรมาส

3. หน่วยงานส่วนกลาง รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลระดับประเทศ จัดทำเป็นรายงาน

   สรุปผลการดำเนินงานฯ รายไตรมาส

4. การรายงานผ่านระบบการตรวจราชการกระทรวง

แหล่งข้อมูล

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1, 2, 3 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2558

2559

2560

ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

ร้อยละ

-

-

60.53

(46 จังหวัด)

ณ 25 กย.60

 
 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2561

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมีแผนปฏิบัติการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ

ร้อยละ 60 ของจังหวัด            มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (จังหวัดประเมินตนเอง)

ร้อยละ 75 ของจังหวัด              มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (ประเมินโดย ศอ. และ สคร.)

ร้อยละ 90 ของจังหวัด            มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (ประเมินโดย ศอ. และ สคร.)

ปี 2562

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมีแผนปฏิบัติการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

ร้อยละ 30 ของจังหวัด มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ผ่านเกณฑ์  ระดับดี (จังหวัดประเมินตนเอง)

ร้อยละ 40 ของจังหวัด             มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ ผ่านเกณฑ์  ระดับดี (ประเมินโดย ศอ. และ สคร.)

ร้อยละ 50 ของจังหวัด              มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับดี             (ประเมินโดย ศอ. และ สคร.)

ปี 2563

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมีแผนปฏิบัติการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

ร้อยละ 60 ของจังหวัด มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับดี (จังหวัดประเมินตนเอง)

ร้อยละ 70 ของจังหวัด             มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับดี (ประเมินโดยศอ. และ สคร.)

ร้อยละ 80 ของจังหวัด          มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับดี               (ประเมินโดย ศอ. และ สคร.)

ปี 2564

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมีแผนปฏิบัติการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

ร้อยละ 40 ของจังหวัด มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก (จังหวัดประเมินตนเอง)

ร้อยละ 50 ของจังหวัด         มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก (ประเมินโดย ศอ. และ สคร.)

ร้อยละ 60 ของจังหวัด            มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก (ประเมินโดย ศอ. และ สคร.)

วิธีการประเมินผล

1. การประเมินตนเองของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (ตามแบบฟอร์มการประเมินผลการ

   ดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่กำหนด)

2. ศูนย์อนามัย (ศอ.) และสำนักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) ทำการทวนสอบและ

   วิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และประเมินผลการ

   ดำเนินงานของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (ตามแบบฟอร์มการประเมินผลการ

   ดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่กำหนด)

3. ส่วนกลางสุ่มประเมินเชิงคุณภาพ และจัดทำสรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดภาพรวม

   ของประเทศ

เอกสารสนับสนุน

1. แนวทางการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

2. คู่มือ/แนวทางการปฏิบัติงานสำหรับฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด

3. Animation ให้ความรู้ด้านกฎหมายสาธารณสุข และบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด

4. คู่มือปฏิบัติงานสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เรื่องการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม

5. คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

6. ระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS)

7. แนวทางการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน

8. แนวทางการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนสำหรับประชาชน และเจ้าหน้าที่

9. แนวทางการดำเนินงานการจัดระบบเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อม

10. แนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมสำหรับโรงพยาบาล

11. คู่มือแนวทางการพัฒนาสถานบริการการสาธารณสุขให้ได้มาตรฐานการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ

12. คู่มือแนวทางการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

13. คู่มืออบรมผู้ปฏิบัติงานมูลฝอยติดเชื้อ หลักสูตรป้องกันและระงับการแพร่เชื้อหรือ

     อันตรายที่อาจเกิดจากมูลฝอยติดเชื้อ

14. คู่มือแนวทางการบริหารจัดการสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล

15. คู่มือแนวทางการดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital

16. กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545 และประกาศกระทรวงที่เกี่ยวข้อง

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

ประเด็นการพัฒนาระบบฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

1. นางสาวพาสนา ชมกลิ่น                   นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904202       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5904356                 E-mail : pasana.c@anamai.mail.go.th

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย 

ประเด็นการสนับสนุนการดำเนินงานคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (คสจ.)

1. นางสาวชญาณี ศรีวรรณ                  นักวิชาการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904219       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร :                                  E-mail : chayanee.s@anamai.mail.go.th

ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย

ประเด็นการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของโรงพยาบาล รพศ./รพท./รพช สังกัดกระทรวงสาธารณสุข            ให้ถูกต้องตามกฎหมาย

1. นางสาวปาณิสา ศรีดโรมนต์               นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904128       โทรศัพท์มือถือ : 091-8814733

    โทรสาร : 02-5904200                 E-mail : panisa.s@anamai.mail.go.th

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย 

ประเด็นการส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐาน (EHA)

1. นายชัยเลิศ  กิ่งแก้วเจริญชัย              นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904177       โทรศัพท์มือถือ : 080-4346888

    โทรสาร : 02-5904186,88              E-mail : chailert.k@anamai.mail.go.th

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย

ประเด็นการดำเนินงานเพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดตำบลที่มีชุมชนเข้มแข็งด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (Active Communities)

1. นางปรียานุช บูรณะภักดี                 นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904261       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร :                                  E-mail: preeyanuch.b@anamai.mail.go.th

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

ประเด็นมีการจัดระบบเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อม

1. นางสุทธิดา  อุทะพันธุ์                     นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904393       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร :                                  E-mail : env_med@googlegroups.com

2. นางสาวณราวดี ชินราช                   นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904380      โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร :                                  E-mail : cnaravadee@gmail.com

สำนักโรคจากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กรมอนามัย (สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข)

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางสาวพาสนา ชมกลิ่น                   นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ   

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904202       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5904202                           E-mail : pasana.c@anamai.mail.go.th

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>