ร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการสาธารณสุข สำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตามเกณฑ์ที่กำหนด

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการสาธารณสุข สำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตามเกณฑ์ที่กำหนด
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2560
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่061
Sort Order0
คำนิยาม

1. หน่วยบริการสาธารณสุขในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ หมายถึง โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่รัฐบาลได้กำหนดให้ตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษขึ้น รวม 10 จังหวัด ได้แก่ ตาก สระแก้ว ตราด มุกดาหาร สงขลา เชียงราย หนองคาย  นครพนม กาญจนบุรี และ นราธิวาส

2. การจัดบริการอาชีวอนามัย หมายถึง กิจกรรมที่ดำเนินงานโดยบุคคลากรที่มีความรู้ด้านอาชีวอนามัยเพื่อให้ผู้ประกอบอาชีพต่างๆ ได้รับการดูแลสุขภาพมีการจัดบริการทั้งเชิงรุกเชิงรับ ที่มุ่งเน้นด้านการป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงาน การส่งเสริมสุขภาพโดยมีการรักษาและพื้นฟูเป็นส่วนเสริมเพื่อให้ผู้ประกอบอาชีพในสถานประกอบการมีสุขภาพอนามัยที่ดีอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย 

3. การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม หมายถึง กิจกรรมที่ดำเนินงานโดยบุคลากรที่มีความรู้ทางด้านอาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมหรืออุบัติภัยฉุกเฉิน ได้รับการดูแลสุขภาพ มีการจัดบริการทั้งเชิงรุกและเชิงรับ ที่มุ่งเน้นด้านการป้องกันโรคจากสิ่งแวดล้อมเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย

      การจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ    มีประเด็นเพิ่มเติมจากเกณฑ์การจัดบริการอาชีวอนามัย และเกณฑ์การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมทั่วไป คือ เพิ่มการประเมินความเสี่ยงในสถานประกอบการที่ตั้งขึ้นใหม่ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับอุบัติภัย สารเคมีอันตราย และสารกัมมันตรังสี

4. ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด หมายถึง โรงพยาบาลสามารถดำเนินงานตามเกณฑ์ที่กำหนดใน คู่มือการตรวจประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม สำหรับโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตั้งแต่ระดับเริ่มต้นพัฒนา (ขั้นพื้นฐาน) ขึ้นไป

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aหน่วยบริการ
นิยามของค่า Aผลรวมหน่วยบริการสาธารณสุข (รพศ., รพท., รพช.) ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษที่ผ่านเกณฑ์การประเมินฯ ตั้งแต่ระดับเริ่มต้นพัฒนา (ขั้นพื้นฐาน) ขึ้นไป
หน่วยของค่า Bหน่วยบริการ
นิยามของค่า Bจำนวนรวมของหน่วยบริการสาธารณสุข (รพศ./รพท./รพช.) ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษทั้งหมด (24 แห่ง)
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 25
ประชากรกลุ่มเป้าหมายประชาชนในเขตพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ 10 จังหวัด
ค่าเป้าหมาย25.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

     1) โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน ในพื้นที่เป้าหมาย ประเมินตนเองตามแบบประเมินตนเอง (ตามคู่มือที่ระบุในนิยาม) ส่งให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

     2) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รวบรวมรายชื่อโรงพยาบาลทั้งโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป เป้าหมาย พร้อมผลการประเมินตนเองและแบบรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม (ดังแบบ Report_OHS สสจ.) แจ้งมายังสำนักงานป้องกันควบคุมโรค

     3) สำนักงานป้องกันควบคุมโรค รวบรวมส่งให้กับสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม เพื่อวางแผนจัดเตรียมทีมตรวจประเมิน/สอบทวนและสรุปผลการดำเนินงาน

     4) สำนักงานป้องกันควบคุมโรคร่วมกับทีมตรวจประเมินระดับจังหวัด และสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมตรวจประเมินตามแนวทางของสำนักฯ และให้ข้อเสนอแนะโรงพยาบาลที่ขอรับการประเมิน

     5) สำนักงานป้องกันควบคุมโรค รวบรวมรายชื่อโรงพยาบาลเพื่อเข้าสู่กระบวนการรับรอง (ดังแบบ Report_OHS_สคร.)

     6) กรรมการรับรองผลประชุมเพื่อพิจารณารับรองผลโรงพยาบาล

     7) สสจ.เก็บข้อมูลผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด “ร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการสาธารณสุข สำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตามเกณฑ์ที่กำหนด” ตามแบบรายงานผลการดำเนินงาน (ดังเอกสารแนบท้าย) ผ่านระบบบันทึกข้อมูลที่ สนย.จะเป็นผู้พัฒนาขึ้น

     8) สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สรุปผลภาพรวมของประเทศและรายงานให้ สนย.

แหล่งข้อมูล

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดที่มีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (10 จังหวัด), สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12, สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 4 (รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานไตรมาส 1, 2, 3, และ 4)
ข้อมูล Baseline
 

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

ร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการสาธารณสุข สำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตามเกณฑ์ที่กำหนด

ร้อยละ

-

-

-

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2560 :       

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

ร้อยละ 25

มีการถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน หรือสนับสนุนวิชาการให้กับหน่วยงานเครือข่าย

มีสรุปผลการดำเนินงานรอบ 6 เดือน

มีสรุปผลการดำเนินงานรอบ 9 เดือน

​1. มีผลร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการ    สาธารณสุข สำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัยและร้อยละ 25 ในปี 2560

2. มีสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะในการดำเนินงานปีต่อไป

ปี 2561 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

ร้อยละ 50

มีการถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน หรือสนับสนุนวิชาการให้กับหน่วยงานเครือข่าย

มีสรุปผลการดำเนินงานรอบ 6 เดือน

มีสรุปผลการดำเนินงานรอบ 9 เดือน

​1. มีผลร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการสาธารณสุข สำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัยและร้อยละ 25 ในปี 2560

2. มีสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะในการดำเนินงานปีต่อไป

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

ร้อยละ 70

มีการถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน หรือสนับสนุนวิชาการให้กับหน่วยงานเครือข่าย

มีสรุปผลการดำเนินงานรอบ 6 เดือน

มีสรุปผลการดำเนินงานรอบ 9 เดือน

1. มีผลร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการสาธารณสุข สำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัยและร้อยละ 25 ในปี 2560

2. มีสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะในการดำเนินงานปีต่อไป

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

ร้อยละ 90

มีการถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน หรือสนับสนุนวิชาการให้กับหน่วยงานเครือข่าย

มีสรุปผลการดำเนินงานรอบ 6 เดือน

มีสรุปผลการดำเนินงานรอบ 9 เดือน

​1. มีผลร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการสาธารณสุข สำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัยและร้อยละ 25 ในปี 2560

2. มีสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะในการดำเนินงานปีต่อไป

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

ร้อยละ 95

มีการถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน หรือสนับสนุนวิชาการให้กับหน่วยงานเครือข่าย

มีสรุปผลการดำเนินงานรอบ 6 เดือน

มีสรุปผลการดำเนินงานรอบ 9 เดือน

​1. มีผลร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการสาธารณสุข สำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัยและร้อยละ 25 ในปี 2560

2. มีสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะในการดำเนินงานปีต่อไป

 
วิธีการประเมินผล

ตามแนวทางของสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค

เอกสารสนับสนุน

1. คู่มือการตรวจประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยและ
     เวชกรรมสิ่งแวดล้อมสำหรับโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาล  
     ชุมชน ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
2. แบบรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด “ร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการ
     สาธารณสุข สำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในเขตพัฒนา
     เศรษฐกิจพิเศษ ตามเกณฑ์ที่กำหนด”

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นางวีณา ภักดีสิริวิชัย                        รองผู้อำนวยการสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904380       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร :                                      E-mail : bhakdi2005@yahoo.com

กรมควบคุมโรค

2. ดร.อรพันธ์ อันติมานนท์                     ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย                                                                                 จ.สมุทรปราการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-3847935, 02-3940166       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร :                                        E-mail : untimanon@gmail.com  

ศูนย์พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย จ.สมุทรปราการ

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นายแพทย์ปรีชา เปรมปรี                  ผู้อำนวยการสำนักโรคจากการประกอบอาชีพ                                                                                      และสิ่งแวดล้อม

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5918173       โทรศัพท์มือถือ : 081-8344566

    โทรสาร :02-5904388                     E-mail : prempree@hotmail.com

สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

2. นางวีณา ภักดีสิริวิชัย                        รองผู้อำนวยการสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904380        โทรศัพท์มือถือ : 081-8235943

    โทรสาร : 02-5904388                     E-mail : bhakdi2005@yahoo.com

สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

3. นางสาวอังคณา เมธากุล                    นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904392        โทรศัพท์มือถือ : 081-6374464

    โทรสาร : 02-5918189                     E-mail : occupah@gmail.com

กรมควบคุมโรค

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>