ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิจัดบริการสุขภาพช่องปาก

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิจัดบริการสุขภาพช่องปาก
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2560
ระดับตัวชี้วัดเขต
ตัวชี้วัดที่051
Sort Order0
คำนิยาม

 

หน่วยบริการปฐมภูมิ หมายถึง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) และศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (ศสม.)

บริการสุขภาพช่องปาก หมายถึง บริการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ป้องกันโรค และรักษาโรคในช่องปากตามความจำเป็น

บริการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ได้แก่ การตรวจ/วางแผนบริการร่วมกับผู้รับบริการและให้คำแนะนำเป็นการเฉพาะรายบุคคล ฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง และการ    ขัดทำความสะอาดฟัน

  • การฝึกทักษะ หมายถึง กระบวนการพัฒนาศักยภาพให้ผู้รับบริการมีความสามารถปฏิบัติได้จริง โดยแนะนำ/ผู้รับบริการทดลองปฏิบัติ/และแนะนำเพิ่มเติม
  • การดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง ได้แก่ การตรวจช่องปากด้วยตนเองและสามารถจัดการได้เมื่อมีปัญหา การแปรงฟันได้สะอาดเพียงพอในระดับป้องกันโรคฟันผุและเหงือกอักเสบ การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพช่องปากอย่างเหมาะสม (เช่น แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ไหมขัดฟัน แปรงซอกฟัน)  และการเลือกบริโภคอาหารที่เอื้อต่อสุขภาพช่องปากและเลี่ยงอาหารที่เพิ่มความเสี่ยง

บริการป้องกันโรคในช่องปาก ได้แก่ การทาฟันด้วยฟลูออไรด์วาร์นิช (เด็กอายุ 9 เดือนถึง 5 ปี) การเคลือบหลุมร่องฟันในฟันกรามแท้ซี่ที่ 1 (ช่วงอายุ 6-7 ปี) และซี่ที่ 2 (ช่วงอายุ 11-12 ปี)  การขูดหินน้ำลายเหนือเหงือก และการเคลือบฟลูออไรด์ในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อโรคฟันผุ

บริการรักษา หมายถึง การรักษาพื้นฐาน ได้แก่ อุดฟัน ขูดหินน้ำลาย หรือถอนฟัน โดยโรงพยาบาลแม่ข่าย (รพ.แม่ข่าย) และทีมหมอครอบครัวสนับสนุนกำลังคน วัสดุ วิชาการ และกำกับติดตาม ให้หน่วยบริการปฐมภูมิดำเนินการได้ครอบคลุมประชากรกลุ่มเป้าหมายเพื่อฟันดีไม่มีผุ (cavity free) ดังนี้

 - เด็กอายุ 0-2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 

 - เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากปีละครั้ง

 - เด็กในโรงเรียนประถมศึกษาได้รับบริการสุขภาพช่องปาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

       - ผู้สูงอายุได้รับบริการส่งเสริมป้องกันและรักษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aหน่วยบริการ
นิยามของค่า Aจำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิที่จัดบริการสุขภาพช่องปาก
หน่วยของค่า Bหน่วยบริการ
นิยามของค่า Bจำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิทั้งประเทศ
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 50
ประชากรกลุ่มเป้าหมายหน่วยบริการปฐมภูมิสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่จัดบริการสุขภาพช่องปาก
ค่าเป้าหมาย50.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1) เจ้าหน้าที่หน่วยบริการปฐมภูมิบันทึกข้อมูลในแฟ้ม Dental และ Service ในฐานข้อมูล 43 แฟ้ม

2) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดส่งออกข้อมูลตามมาตรฐานโครงสร้างข้อมูล 43 แฟ้ม

3) ส่วนกลางวิเคราะห์ข้อมูลจากฐานข้อมูล 43 แฟ้ม

แหล่งข้อมูล

ฐานข้อมูล 43 แฟ้มรวบรวมโดยสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags43 แฟ้ม
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1, 2, 3 และ 4
ข้อมูล Baseline

                       Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ

2557

2558

2559

 หน่วยบริการปฐมภูมิที่จัดบริการสุขภาพช่องปาก

ร้อยละ

-

-

-

 รพ.สต./ศสม.ที่จัดบริการสุขภาพช่องปากที่มีคุณภาพ

ร้อยละ

-

51.4

50.9

เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2560 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

48.5

49

49.5

50

ปี 2561 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

50.5

51

51.5

52

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

52.5

53

53.5

54

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

54.5

55

55.5

56

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

56.5

57

57.5

58

 

วิธีการประเมินผล

วัดผลการดำเนินงานจาก หน่วยบริการที่จัดบริการสุขภาพช่องปาก  

เอกสารสนับสนุน

1. แนวทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุขประจำปี 2560

2. มาตรฐานการทำงาน (Quality standard) การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคด้านทันตสุขภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2559

3. รายงานการสำรวจอนามัยและสวัสดิการทุก 2 ปี โดยสำนักงานสถิตแห่งชาติ

4. รายงานการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติทุก 5 ปี โดยสำนักทันตสาธารณสุข

 

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. ทพญ. เพ็ญแข ลาภยิ่ง                     ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904213       โทรศัพท์มือถือ : 086-8944696

    โทรสาร: 02-5904203                     E-mail : phenkhael@gmail.com

2. นายปัธทวี  สีหะวงษ์                        นักวิชาการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน: 02-5904213        โทรศัพท์มือถือ : 091-8195369

    โทรสาร: 02-5904203                     E-mail : plamohwie@gmail.com

สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. ทพญ. เพ็ญแข ลาภยิ่ง                     ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904213       โทรศัพท์มือถือ : 086-8944696

    โทรสาร: 02-5904203                     E-mail : phenkhael@gmail.com

สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>