จำนวนจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดจำนวนจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2560
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่029
Sort Order0
คำนิยาม

จังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการ มีประสิทธิภาพและยั่งยืน หมายถึง จังหวัดมีระบบและกลไกเพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพใน 6 ประเด็น ดังนี้

1. มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

2. มีกลไกการจัดการปัจจัยเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อมอย่างบูรณาการ โดยผ่าน

   คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.)

3. มีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของโรงพยาบาลรพศ./รพท./รพช

   สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ให้ถูกต้องตามกฎหมาย ร้อยละ 100

4. มีการส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐาน

5. มีการดำเนินงานเพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดตำบลที่มีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการ

   อนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน

6. มีการส่งเสริมการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐาน

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aจังหวัด
นิยามของค่า Aจำนวนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืนผ่านเกณฑ์ในแต่ละระดับ
หน่วยของค่า Bจังหวัด
นิยามของค่า Bจำนวนจังหวัดทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 100 ของจังหวัดผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน
ประชากรกลุ่มเป้าหมายสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด
ค่าเป้าหมาย100.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด จัดส่งข้อมูลให้ศูนย์อนามัย

2. ศูนย์อนามัยรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวมของเขตและจัดส่งข้อมูลให้ส่วนกลาง

3. หน่วยงานส่วนกลางรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลระดับประเทศ

4. การรายงานผ่านระบบการตรวจราชการกระทรวง

แหล่งข้อมูล

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 2, 3 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

ร้อยละ 50 ของจังหวัดมีการดำเนินงานเพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ตามเกณฑ์ที่กำหนดระดับดีขึ้นไป (ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 กำหนดประเด็นการประเมิน 5 ประเด็น)

ร้อยละ

-

-

94.74

(72 จังหวัด)

 
 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2560

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

จังหวัดมีแผนปฏิบัติการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ

จังหวัดประเมินตนเอง ตามเกณฑ์ที่กำหนด และมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพฯ ระดับพื้นฐาน ร้อยละ 50

ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพฯ (ประเมินโดยศอ.)

ร้อยละ 100  ของจังหวัด มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพฯ ระดับพื้นฐาน (ประเมินโดยศอ.)

 

ปี 2561

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

จังหวัดมีแผนปฏิบัติการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ

จังหวัดประเมินตนเอง ตามเกณฑ์ที่กำหนด และมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพฯ ระดับดี

ร้อยละ 40

ร้อยละ 60 ของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพฯ ระดับดี  (ประเมินโดยศอ.)

ร้อยละ 80  ของจังหวัด มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพฯ ระดับดี (ประเมินโดยศอ.)

 

ปี 2562

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

จังหวัดมีแผนปฏิบัติการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ

จังหวัดประเมินตนเอง ตามเกณฑ์ที่กำหนด และมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพฯ ระดับดี

ร้อยละ 50

ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพฯ ระดับดี (ประเมินโดยศอ.)

ร้อยละ 100  ของจังหวัด มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพฯ ระดับดี (ประเมินโดยศอ.)

 

ปี 2563

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

จังหวัดมีแผนปฏิบัติการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ

จังหวัดประเมินตนเอง ตามเกณฑ์ที่กำหนด และมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพฯ ระดับดีมาก ร้อยละ 40

ร้อยละ 60 ของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพฯ ระดับดีมาก (ประเมินโดยศอ.)

ร้อยละ 80  ของจังหวัด มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพฯ ระดับดีมาก (ประเมินโดยศอ.)

 

ปี 2564

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

จังหวัดมีแผนปฏิบัติการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ

จังหวัดประเมินตนเอง ตามเกณฑ์ที่กำหนด และมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพฯ ระดับดีมาก ร้อยละ 50

ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพฯ ระดับดีมาก (ประเมินโดยศอ.)

ร้อยละ 100  ของจังหวัด มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพฯ ระดับดีมาก (ประเมินโดยศอ.)

 

วิธีการประเมินผล

1. การประเมินตนเองของจังหวัด

2. ศูนย์อนามัยประเมินจังหวัดในการมีระบบการจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพ

3. ส่วนกลางสุ่มประเมินเชิงคุณภาพ

เอกสารสนับสนุน

1. แนวทางการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

2. คู่มือการปฏิบัติงานคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัดตามกฎหมายว่าด้วยการ

    สาธารณสุข

3. แนวทางการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการสาธารณสุข 

4. คู่มือปฏิบัติงานสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เรื่องการพัฒนาคุณภาพระบบบริการ

    อนามัยสิ่งแวดล้อม

5. คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วน

    ท้องถิ่น

6. ระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) เพื่อรองรับระบบ

    ข้อมูลระดับจังหวัด และเขตสุขภาพ รวมทั้งสนับสนุนแนวทางการจัดทำข้อมูล

    สถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

ประเด็นการพัฒนาระบบฐานข้อมูล

1. นางสาวอำพร  บุศรังษี                    นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904359      โทรศัพท์มือถือ : 081-8311430

    โทรสาร : 02-5904356                   E-mail : amporn.b@anamai.mail.go.th

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย 

ประเด็นการสนับสนุนการดำเนินงานคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด

1. นายพลากร  จินตนาวิวัฒน์                 นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904219       โทรศัพท์มือถือ : 084-8289950

    โทรสาร : 02-5908180                    E-mail : palakorn.c@@anamai.mail.go.th

ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย

ประเด็นการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ

1. น.ส.ปาณิสา ศรีดโรมนต์                   นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904128       โทรศัพท์มือถือ : 091-8814733

    โทรสาร : 02-5904200                    E-mail : panisa.s@anamai.mail.go.th

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย 

ประเด็นการดำเนินงานเพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดตำบลที่มีชุมชนที่มีการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของชุมชน (Active Communities)

1. นายผาไท  จุลสุข                          นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904261      โทรศัพท์มือถือ : 084-6703932

    โทรสาร : 02-5904255                   E-mail : pathai.c@anamai.mail.go.th

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

ประเด็นการส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐาน

1. นายชัยเลิศ  กิ่งแก้วเจริญชัย              นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904177       โทรศัพท์มือถือ : 080-4346888

    โทรสาร : 02-5904186,88                E-mail : chailert.k@anamai.mail.go.th

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย

ประเด็นการส่งเสริมการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐาน

1. นางสุทธิดา  อุทะพันธุ์                     นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904393       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร :                                      E-mail : env_med@googlegroups.com

สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ กรมควบคุมโรค 

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กรมอนามัย (สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข)

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางเพ็ญผกา  วงศ์กระพันธุ์                นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ   

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904202       โทรศัพท์มือถือ : 081-5416324

    โทรสาร : 02-5904356                    E-mail : ppk_path@yahoo.com

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

2. นางสาวนวรัตน์ อภิชัยนันท์                 นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ     

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904316        โทรศัพท์มือถือ : 083-7776229

    โทรสาร : 02-5904316                     E-mail : nawarat.t@anamai.mail.go.th 

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>