ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2560
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่022
Sort Order0
คำนิยาม

พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง หมายถึง พฤติกรรมของเกี่ยวกับการเลือกซื้อ เลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพด้านอาหารที่ไม่ก่อให้เกิดโรค โดยขึ้นกับเรื่องที่รณรงค์ตามแผนงานและโครงการในแต่ละปี ซึ่งจะเป็นการประเมินจากแบบสำรวจพฤติกรรมที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กำหนด

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aจำนวนผู้บริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bจำนวนผู้บริโภคที่สำรวจทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 70
ประชากรกลุ่มเป้าหมายผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยามีแผนงาน/โครงการ ไปดำเนินกิจกรรม (ในระยะ 5 ปี แรก สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาดำเนินการกับกลุ่มผู้บริโภคที่มีอายุตั้งแต่ 11 – 60 ปีขึ้นไป)
ค่าเป้าหมาย70.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

แบบสำรวจ

แหล่งข้อมูล

จัดจ้างหน่วยงาน/สถาบันการศึกษา เป็นผู้ดำเนินการสำรวจ

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

-

-

-

-

-

เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2560 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1.สัญลักษณ์โภชนาการอย่างง่าย

1.1 ได้ (ร่าง) เกณฑ์สัญลักษณ์โภชนาการสำหรับกลุ่มอาหารที่มีขอบข่าย ดังนี้

1) อาหารกึ่งสำเร็จรูป

2) ขนมขบเคี้ยว รวมถึงผลิตภัณฑ์ OTOPs

1.2 ได้คู่มือหรือสื่อสิ่งพิมพ์ ประชาสัมพันธ์

2. ฉลากอาหารแบบจีดีเอ

     2.1ได้ (ร่าง) ประกาศ สธ.อาหารที่ต้องแสดงฉลากโภชนาการและ    ค่าพลังงาน น้ำตาล ไขมันและโซเดียม แบบ GDA

1.สัญลักษณ์โภชนาการอย่างง่าย

1.1 ได้ (ร่าง) เกณฑ์สัญลักษณ์โภชนาการสำหรับกลุ่มอาหารที่มีขอบข่าย ได้แก่ ไอศกรีม

2. ฉลากอาหารแบบจีดีเอ

 2.1 ประชาพิจารณ์ (ร่าง) ประกาศ สธ.อาหารที่ต้องแสดงฉลากโภชนาการและ           ค่าพลังงาน น้ำตาล ไขมันและโซเดียม แบบจีดีเอ

3. ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้

1.สัญลักษณ์โภชนาการอย่างง่าย

1.1 ได้ (ร่าง)เกณฑ์สัญลักษณ์โภชนาการสำหรับกลุ่มอาหารที่มีขอบข่าย ดังนี้

1) ผลิตภัณฑ์โฮลเกรน

2) น้ำมันและไขมัน

2. ฉลากอาหารแบบจีดีเอ

 2.1 เสนอ (ร่าง) ประกาศ สธ.อาหารที่ต้องแสดงฉลากโภชนาการและค่าพลังงาน น้ำตาล ไขมันและโซเดียม แบบจีดีเอ ต่อคณะกรรมการอาหาร

3. ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้

1. ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้

2. ประเมินพฤติกรรมผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์อาหาร

 

ปี 2561 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ดำเนินกิจกรรมได้ตามแผนที่วางไว้ ร้อยละ 20

ดำเนินกิจกรรมได้ตามแผนที่วางไว้ ร้อยละ 50

ดำเนินกิจกรรมได้ตามแผนที่วางไว้ ร้อยละ 70

ประเมินผลผู้บริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี
ร้อยละ 70

 

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ดำเนินกิจกรรมได้ตามแผนที่วางไว้ ร้อยละ 20

ดำเนินกิจกรรมได้ตามแผนที่วางไว้ ร้อยละ 50

ดำเนินกิจกรรมได้ตามแผนที่วางไว้ ร้อยละ 70

ประเมินผลผู้บริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี
ร้อยละ 71

 

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ดำเนินกิจกรรมได้ตามแผนที่วางไว้ ร้อยละ 20

ดำเนินกิจกรรมได้ตามแผนที่วางไว้ ร้อยละ 50

ดำเนินกิจกรรมได้ตามแผนที่วางไว้ ร้อยละ 70

ประเมินผลผู้บริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี
ร้อยละ 71

 

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ดำเนินกิจกรรมได้ตามแผนที่วางไว้
ร้อยละ 20

ดำเนินกิจกรรมได้ตามแผนที่วางไว้
ร้อยละ 50

ดำเนินกิจกรรมได้ตามแผนที่วางไว้
ร้อยละ 70

ประเมินผลผู้บริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี
ร้อยละ 72

 
วิธีการประเมินผล

ใช้การวิจัย

เอกสารสนับสนุน

-

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นายศุภกาญจน์ โภคัย                     เภสัชกรชำนาญการพิเศษ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907125        โทรศัพท์มือถือ : 081-6829114

   โทรสาร : 02-5918472                    E-mail : supakarn@fda.moph.go.th

กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

2. นางทัศน์อร  ฉัตรไชยศิริ                  นักวิชาการอาหารและยาปฏิบัติการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907214        โทรศัพท์มือถือ : 087-3389303

   โทรสาร : 02-5907322                    E-mail : planningfood@gmail.com

สำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

3. น.ส.วราลักษณ์  พูลสวัสดิ์                 นักวิชาการอาหารและยาปฏิบัติการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907214          โทรศัพท์มือถือ : 081-9255350

   โทรสาร : 02-5907322                      E-mail : planningfood@gmail.com

สำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

4. น.ส.ชนานันท์  ประไพรเพชร             นักวิชาการอาหารและยาปฏิบัติการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907214        โทรศัพท์มือถือ : 086-6914195

   โทรสาร : 02-5907322                    E-mail : planningfood@gmail.com

สำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

น.ส. จิตธาดา  เซ่งเจริญ                      นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907292             โทรศัพท์มือถือ : 081-8415786

โทรสาร : 02-5918457                         E-mail : jtdtrs@fda.moph.go.th

กองแผนงานและวิชาการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>