ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2560
ระดับตัวชี้วัดจังหวัด
ตัวชี้วัดที่021
Sort Order0
คำนิยาม

 

1. อาหารสด หมายถึง อาหารที่ยังไม่ผ่านการแปรรูป ที่นำมาเป็นวัตถุดิบในการปรุงประกอบอาหาร ได้แก่ ผัก ผลไม้ และเนื้อสัตว์ (เนื้อวัว เนื้อหมูสด)

2. อาหารสดมีความปลอดภัย หมายถึง ผัก ผลไม้ ต้องไม่มีการตกค้างของสารเคมีกำจัดศัตรูพืช และเนื้อสัตว์ (เนื้อวัว เนื้อหมูสด) ต้องไม่มีการตกค้างจากสารเร่งเนื้อแดง

3. อาหารแปรรูป หมายถึง อาหารที่ผ่านกระบวนการที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะของอาหารไปแล้ว หรืออาหารที่ผสมกับส่วนผสมอื่น ๆ หรือหมายถึง อาหารสดที่แปรรูป ทำให้แห้ง หรือหมักดอง หรือในรูปอื่นๆ รวมทั้งที่ใช้สารปรุงแต่งอาหาร ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ผลิตภัณฑ์จากแป้ง (เส้นก๋วยเตี๋ยวชนิดเส้นสด เส้นบะหมี่/เกี๊ยว/ขนมจีน) นมโรงเรียน และน้ำมัน (รายละเอียดตามเอกสาร KPI Template ประเด็นย่อย 21.1-21.8)

4. อาหารแปรรูปมีความปลอดภัย หมายถึง ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ผลิตภัณฑ์จากแป้ง (เส้นก๋วยเตี๋ยวชนิดเส้นสด เส้นบะหมี่/เกี๊ยว/ขนมจีน) นมโรงเรียน และน้ำมัน ต้องมีคุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (รายละเอียดตามเอกสาร KPI Template ประเด็นย่อย 21.1-21.8)

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aผลิตภัณฑ์
นิยามของค่า Aจำนวนของผลิตภัณฑ์ที่ผลวิเคราะห์ผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
หน่วยของค่า Bผลิตภัณฑ์
นิยามของค่า Bจำนวนของผลิตภัณฑ์ที่เก็บตัวอย่างเพื่อตรวจวิเคราะห์ทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 80
ประชากรกลุ่มเป้าหมายผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปที่มีการจำหน่ายในประเทศ
ค่าเป้าหมาย80.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

ดำเนินการตามรายละเอียดเอกสาร KPI template ประเด็นย่อย 21.1-21.8 โดยรายงานผลการดำเนินงานจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา/สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและหน่วยเคลื่อนที่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหารตามช่องทางที่สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กำหนด

แหล่งข้อมูล

ส่วนกลาง : สำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

ส่วนภูมิภาค :  เขตบริการสุขภาพ โดยหน่วยเคลื่อนที่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหาร/ 

                    สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด แล้วแต่กรณี

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
TagsPA,สตป.
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 4 (โดยติดตามผลการดำเนินงาน ไตรมาส 1, 2, 3 และ 4)
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยนับ

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

1. อาหารสด

 

-

-

-

1.1 ผักผลไม้สด*

ร้อยละ

96.91

97.82

97.52

1.2 เนื้อสัตว์สด*

ร้อยละ

98.47

95.51

92.94

2. อาหารแปรรูป

 

 

 

 

2.1 น้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท

ร้อยละ

-

-

-

2.2 ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์

ร้อยละ

59.46

67.08

68.36

2.3 ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร

ร้อยละ

67.31

84.21

66.70

2.4 นมโรงเรียน

ร้อยละ

92.86

92.28

91.07

2.5 ผลิตภัณฑ์จากแป้ง (เส้นก๋วยเตี๋ยว (ชนิดเส้นสด)/ ผลิตภัณฑ์เส้นบะหมี่/เกี๊ยวขนมจีน)

ร้อยละ

76.04

67.68

71.25

2.6 น้ำมัน*

ร้อยละ

89.14

84.60

76.82

 

หมายเหตุ: *ผลการดำเนินงานโดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น

เกณฑ์การประเมินผล

 

ปี 2560 - 2564 :

หน่วยงาน

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

อย.

 

 

  • มีคณะทำงานแก้ไขปัญหาความไม่ปลอดภัยอาหาร
  • มีทีม SAT แบบบูรณาการด้านอาหาร
  • มีแผนการดำเนินการ            ในภาพรวมของประเทศ
  • ดำเนินการตามแผน          การดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของแผน
  • ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • โครงสร้างของระบบข้อมูลการเฝ้าระวัง
  • มีแนวทางการแจ้งเตือนภัยและจับสัญญาณความเสี่ยง
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 ของแผน
  • ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • มีการทดลองนำเข้าข้อมูลการเฝ้าระวัง                  
  • ทดลองระบบ                 การจัดการความเสี่ยงด้านอาหาร
  • ดำเนินการตามแผน          การดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 ของแผน
  • ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • คู่มือการปฏิบัติงานของระบบการจัดการความเสี่ยงด้านอาหาร
  • แผนการจัดการความเสี่ยงแบบบูรณาการ
  • ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • สรุปผลการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ
  • ประสานและจัดส่งข้อมูลการดำเนินงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

เขตบริการสุขภาพ

 

  • มีแผนการดำเนินงานอาหารปลอดภัยระดับเขตบริการสุขภาพ
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงาน ไม่น้อยกว่า   ร้อยละ 30 ของแผน
  • ติดตามและรายงาน ความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไกคณะอนุกรรม การคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานไม่น้อยกว่า ร้อยละ 65 ของแผน
  • ติดตามและรายงาน ความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไกคณะอนุกรรม การคุ้มครองผู้บริโภค                  ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงาน ร้อยละ 100 ของแผน
  • ติดตามและรายงาน ความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไกคณะอนุกรรม การคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • ติดตามและรายงาน ความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไกคณะอนุกรรม การคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • ประสานและจัดส่งข้อมูลผลการดำเนินงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สสจ.

  • มีแผนบูรณาการดำเนินงานอาหารปลอดภัยตลอดห่วงโซ่ระดับจังหวัด
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของแผน
  • รายงาน ความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไกคณะอนุกรรม การคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงาน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 65 ของแผน
  • รายงาน ความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไก คณะอนุกรรม            การคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • ดำเนินการตามแผนการดำเนินงาน ร้อยละ 100 ของแผน
  • รายงาน ความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไกคณะอนุกรรม การคุ้มครองผู้บริโภค                             ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • รายงาน ความก้าวหน้าการดำเนินงานของหน่วยงานในเขตบริการสุขภาพ ผ่านกลไกคณะอนุกรรม การคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพระดับเขต
  • ประสานและส่งต่อข้อมูลผลการดำเนินงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัด
 
วิธีการประเมินผล

การเก็บตัวอย่างเพื่อตรวจวิเคราะห์ โดยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test kit) และห้องปฏิบัติการ แล้วแต่กรณี

เอกสารสนับสนุน

เอกสาร KPI Template ประเด็นย่อย 21.1-21.8

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ

1. ดร.ไพบูลย์ เอี่ยมขำ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901614           โทรศัพท์มือถือ : 081-8579535

    โทรสาร : 02-5901614                        E-mail : privaxma@hotmail.com

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย)

2. นายวันชัย ศรีทองคำ  

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907216            โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5915462                         E-mail : wanchai@fda.moph.go.th

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (สำนักอาหาร)

ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นางนิธิวดี บัตรพรรธนะ            

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901614              โทรศัพท์มือถือ : 093-3296998

    โทรสาร : 02-5901614                           E-mail : pattanastar@hotmail.com

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย)

2. นางทัศน์อร ฉัตรไชยศิริ         

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907214               โทรศัพท์มือถือ : 087-3389303

    โทรสาร : 02-5907322                            E-mail : planning.food@gmail.com

3. นางสาวชนานันท์ ประไพรเพชร         

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907214                โทรศัพท์มือถือ : 086-6914195

    โทรสาร : 02-5907322                             E-mail : planning.food@gmail.com

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (สำนักอาหาร)

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข  (สำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย) 

    เฉพาะผลงานของหน่วยเคลื่อนที่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหาร

2. สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา สำนักอาหาร

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. น.ส.จิตธาดา เซ่งเจริญ                     นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907292       โทรศัพท์มือถือ : 081-8415786

    โทรสาร : 02-5918457                    E-mail : jtdtrs@fda.moph.go.th

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา  (กองแผนงานและวิชาการ)

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>