ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วนและส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2565
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่002.1
Sort Order0
คำนิยาม

- เด็กอายุ 0 - 5 ปี หมายถึง เด็กแรกเกิด จนถึงอายุ 5 ปี 11 เดือน 29 วัน

- สูงดี หมายถึง เด็กที่มีความยาวหรือส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ขึ้นไป (สูงตามเกณฑ์ ค่อนข้างสูง หรือสูง) เมื่อเทียบกับกราฟการเจริญเติบโตความยาว/ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ กรมอนามัย ชุดใหม่ ปี พ.ศ. 2563 (และประยุกต์จากองค์การอนามัยโลก)  โดยมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ -1.5 SD ของความยาว/ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ

- สมส่วน หมายถึง เด็กที่มีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน เมื่อเทียบกับกราฟการเจริญเติบโตน้ำหนักตามเกณฑ์ความยาว/ส่วนสูง กรมอนามัย ชุดใหม่ ปี พ.ศ. 2563 (และประยุกต์จากองค์การอนามัยโลก) โดยมีค่าอยู่ในช่วง +1.5 SD ถึง -1.5 SD ของน้ำหนักตามเกณฑ์ความยาว/ส่วนสูง

- สูงดีสมส่วน หมายถึง เด็กที่มีความยาวหรือส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ขึ้นไปและมีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน ในคนเดียวกัน

- ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี หมายถึง ค่าเฉลี่ยของส่วนสูงในเด็กเพศชาย และเด็กเพศหญิงที่อายุ 5 ปีเต็ม ถึง 5 ปี 11 เดือน 29 วัน

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aจำนวนเด็กอายุ 0 - 5 ปีสูงดีสมส่วน
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bจำนวนเด็กอายุ 0 - 5 ปีที่ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 64
ประชากรกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร พ่อแม่/ผู้เลี้ยงดูเด็ก เด็กแรกเกิด จนถึงอายุ 5 ปี 11 เดือน 29 วัน
ค่าเป้าหมาย64.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1.ชั่งน้ำหนัก วัดความยาว/ส่วนสูง และบันทึกด้วยทศนิยม 1 ตำแหน่ง  เช่น น้ำหนัก 20.1 กิโลกรัม ส่วนสูง 151.2 เซนติเมตร

2.โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน PCU ของโรงพยาบาล
และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล นำข้อมูลน้ำหนัก ความยาว/ส่วนสูง ของเด็กจากหมู่บ้าน สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียนระดับอนุบาล และสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ (คลินิกสุขภาพเด็กดี) ซึ่งไม่รวมการมารับบริการในกรณีเจ็บป่วย บันทึกในโปรแกรมหลักของสถานบริการ เช่น JHCIS, HOSxP PCU  เป็นต้น เพื่อส่งออกแฟ้มข้อมูล Nutrition ตามโครงสร้างมาตรฐาน 43 แฟ้ม

แหล่งข้อมูล

1) สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่ง (คลินิกสุขภาพเด็กดี)

2) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

3) โรงเรียนระดับอนุบาล

4) หมู่บ้าน (จากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน) 

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลทุกไตรมาส
ข้อมูล Baseline

ตัวชี้วัด

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2562

2563

2564

เด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน

46.3

ร้อยละ

58.6

63.7

62.9

ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี

ชาย = 109.3

หญิง= 108.6

เซนติเมตร

108.8

108.2

109.1

108.5

109.1

108.5

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

57

58

59

60

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

60

61

61.5

62

 

 

 

ปี 2565:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

62

63

63.5

64

 

 

 

ปี 2566:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

64

65

65.5

66

 

วิธีการประเมินผล

เปรียบเทียบผลการดำเนินงานจากระบบฐานข้อมูล HDC กระทรวงสาธารณสุขกับค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด

เอกสารสนับสนุน

1.หนังสือแนวทางการขับเคลื่อนงานมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต

2.หนังสือแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการในคลินิกฝากครรภ์

3.หนังสือแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการในคลินิกสุขภาพเด็กดี

4.ชุดกิจกรรมพื้นฐานด้านโภชนาการสตรีและเด็กปฐมวัย

5.info graphic โภชนาการสตรีและเด็กปฐมวัย 8 เรื่อง

6.Motion graphic โภชนาการสตรีและเด็กปฐมวัย 8 เรื่อง

7.ชุดความรู้กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน สำหรับหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กอายุ 0 – 2 ปี

8.สื่อโภชนาการ สำหรับหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กอายุ 0-5 ปี ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality : AR)

9.ชุดความรู้การส่งเสริมการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-5 ปี (Animation)

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1.  นางสาววารีทิพย์ พึ่งพันธ์                นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ

       โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0-2590-4327      โทรศัพท์มือถือ : -                                             

       โทรสาร : 025904339                    
       E-mail : wareethip.p@anamai.mail.go.th

2. นางสาววราภรณ์ จิตอารี                  นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904327      โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร :  02-5904339                  
    E-mail : waraporn.ji@anamai.mail.go.th

สถานที่ทำงาน สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

สำนักโภชนาการ กรมอนามัย 

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางสาววราภรณ์ จิตอารี                  นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904327     โทรศัพท์มือถือ : -

       โทรสาร :  02-5904339                 
       E-mail : waraporn.ji@anamai.mail.go.th

  2. นางสาวภาพิมล บุญอิ้ง                  นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

       โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 4327     โทรศัพท์มือถือ : -                                             

       โทรสาร : 0 2590 4339                  

       E-mail : papimon.b@anamai.mail.go.th

สถานที่ทำงาน สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2022-11-15 11:22:20
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>