ร้อยละโรงพยาบาลสังกัดกรมวิชาการมีการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบบูรณาการ

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละโรงพยาบาลสังกัดกรมวิชาการมีการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบบูรณาการ
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่049.2
Sort Order-
คำนิยาม

1. การจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบบูรณาการ หมายถึง การจัดบริการ คัดกรอง ตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค จ่ายยา และให้คำปรึกษาผู้ป่วยที่ต้องใช้ยากัญชา

ด้วย แพทย์แผนปัจจุบัน และ/หรือ แพทย์แผนไทย โดยมีการจัดการบริการให้ผู้ป่วยเข้าถึงได้ โดยง่าย เช่น มีระบบการคัดกรองหรือนัดหมายล่วงหน้า ระบบผู้จัดการเคส (case manager) ประสานงานให้ผู้ป่วยได้รับบริการ

2. หน่วยบริการสาธารณสุข หมายถึง

   2.1 โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

   2.2 โรงพยาบาลสังกัดกรมวิชาการ กระทรวงสาธารณสุข ตามกลุ่มภารกิจด้านพัฒนาการแพทย์ หมายถึง โรงพยาบาลในสังกัดกรมสุขภาพจิต 14 แห่ง (สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา โรงพยาบาลศรีธัญญา สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ โรงพยาบาลสวนปรุง โรงพยาบาลจิตเวชสงขลาราชนครินทร์ โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์ โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราชนครินทร์ โรงพยาบาลจิตเวชสระแก้วราชนครินทร์ โรงพยาบาลจิตเวชนครพนมราชนครินทร์ โรงพยาบาลจิตเวชเลยราชนครินทร์ โรงพยาบาลจิตเวชพิษณุโลก), กรมการแพทย์ 12 แห่ง (โรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลเลิดสิน โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์(วัดไร่ขิง) สถาบันมะเร็งแห่งชาติ โรงพยาบาลมหาวชิราลงกรณธัญบุรี โรงพยาบาลมะเร็งลำปาง โรงพยาบาลมะเร็งลพบุรี โรงพยาบาลมะเร็งสุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี โรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี โรงพยาบาลมะเร็งชลบุรี) และกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 1 แห่ง (โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน) (เป้าหมายจำนวน 27 แห่ง)

   2.3 สถานพยาบาลภาคเอกชน หมายถึง สถานพยาบาลตามพระราชบัญญัติสถานพยาบาล (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2559 ที่ได้รับอนุญาตให้จำหน่าย (จ่าย) ยากัญชา ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2562

3. ผู้ให้บริการ หมายถึง แพทย์แผนปัจจุบัน แพทย์แผนไทย หมอพื้นบ้าน ทันตแพทย์ เภสัชกร และพยาบาล ที่ได้รับอนุญาตให้ดำเนินการสั่งจ่ายยากัญชาได้ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

4.ยากัญชา หมายถึง ยาสารสกัดกัญชา ตารับยาแผนไทยที่มีกัญชาปรุงผสม หรือน้ำมัน กัญชา

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aแห่ง
นิยามของค่า Aจำนวนคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบบูรณาการที่เปิดให้บริการในโรงพยาบาล สังกัดกรมวิชาการ
หน่วยของค่า Bแห่ง
นิยามของค่า Bจำนวนโรงพยาบาลสังกัดกรมวิชาการที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย (27 แห่ง)
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 50
ประชากรกลุ่มเป้าหมายประชาชนที่เข้ารับบริการในคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบบูรณาการ
ค่าเป้าหมาย50.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. รวบรวมจากระบบรายงาน C-MOPH กระทรวงสาธารณสุข

2. จำนวนใบอนุญาตจำหน่ายยาเสพติดให้โทษประเภท 5 เฉพาะกัญชา

3. รวบรวมจากระบบสารสนเทศ รายงานการสั่งใช้กัญชาทางการแพทย์และรายงานความปลอดภัยจากการใช้กัญชาทางการแพทย์ (HPVC/AUR/SAS) สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

4. รวบรวมจากฐานข้อมูลสำนักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

แหล่งข้อมูล

1. ระบบรายงาน C-MOPH กระทรวงสาธารณสุข

2. ระบบสารสนเทศ รายงานการสั่งใช้กัญชาทางการแพทย์และรายงานความปลอดภัยจากการใช้กัญชาทางการแพทย์ (HPVC/AUR/SAS) สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

3. ฐานข้อมูลสำนักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

4. ฐานข้อมูลใบอนุญาตจำหน่ายยาเสพติดให้โทษประเภท 5 เฉพาะกัญชา จากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

-

-

-

-

0

 
เกณฑ์การประเมินผล

เกณฑ์การประเมิน :

ปี 2564:        

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1. มีแนวทางกาจัดบริการคลินิกกัญชาทาการแพทย์แบบบูรณาการ (กรมการแพทย์ กรมการแพทย์แผนไทยฯ กรมสุขภาพจิต กบรส.สป. สบส. , สถาบันกัญชาฯ)

2. มีการพัฒนาหลักสูตรการอบรมความรู้ การจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบบูรณาการ (กรมการแพทย์ กรมการแพทย์แผนไทยฯ สถาบันกัญชาฯ)

 

1.รพ.สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

มีแผนการจัดตั้งคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบบูรณาการ

2. ผู้ให้บริการ ได้รับการอบรมความรู้ในการจัด

บริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบบูรณาการ (กรมการแพทย์ กรมการแพทย์แผนไทยฯ

สถาบันกัญชา สป.)

3. มีระบบสารสนเทศสนับสนุนคลินิกบูรณาการ ลดความซ้ำซ้อน

 (อย ,กบรส ,ศทส.)

4. มีแผนการเปิดคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบบูรณาการ

1. มีการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบบูรณาการใน รพ.สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 30

(กบรส.สป.)

2.มีการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบบูรณาการใน รพ.สังกัดกรมวิชาการ กระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 30 (กรมการแพทย์, กรมสุขภาพจิต,กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก)

1. มีการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบบูรณาการ ใน รพ.สังกัดสำนักงาปลัดกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 50  (กบรส.สป.)

2.มีการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบบูรณาการในรพ.สังกัดกรมวิชาการ กระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 50 (กรมการแพทย์, กรมสุขภาพจิต,กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก )

 3.มีการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบบูรณาการใน รพ.เอกชนและ/หรือ คลินิกเอกชน เขตสุขภาพละ 1 แห่ง (สบส.)

 

วิธีการประเมินผล

1. ข้อมูลจากระบบรายงาน C-MOPH กระทรวงสาธารณสุข

2. ข้อมูลจากระบบสารสนเทศ รายงานการสั่งใช้กัญชาทางการแพทย์และรายงานความปลอดภัยจากการใช้กัญชาทางการแพทย์ (HPVC/AUR) สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

3. ข้อมูลจากฐานข้อมูลสำนักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

4. ข้อมูลจากการตรวจราชการและนิเทศงานของกระทรวงสาธารณสุข

เอกสารสนับสนุน

1. คู่มือ แนวทางการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบบูรณาการ(Guidance/CPG)

2. พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2562

3. คู่มือการใช้งานระบบ C-MOPH กระทรวงสาธารณสุข / HPVC/AUR สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1.นายแพทย์กิตติ โล่สุวรรณรักษ์             ผู้อำนวยการสถาบันกัญชาทางการแพทย์

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0-2590-1501           โทรศัพท์มือถือ : 081-876-9905

โทรสาร : -                                     E-mail : medicalcannabis0111@gmail.com

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. นายแพทย์สินชัย ตันติรัตนานนท์         ผู้อำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข โทรศัพท์ที่ทำงาน: 0-2590-1755             โทรศัพท์มือถือ :

โทรสาร :         E-mail :

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

3. เภสัชกรหญิงนางกนกพร ชนะค้า        เภสัชกรเชี่ยวชาญ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-1501           โทรศัพท์มือถือ : 065-351-4429

E-mail : kan699@yahoo.com

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

4. ดร.ผกากรอง ขวัญข้าว           เภสัชกรชํานาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-1501          โทรศัพท์มือถือ : 087-247-6333

E-mail : medicalcannabis0111@gmail.com

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. นางเกวลิน ชื่นเจริญส                      รองผู้อานวยการกองบริหารการสาธารณสุข โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0-2590-1634          

โทรศัพท์มือถือ : 089-8296254           โทรสาร : 0-2590-1631                    

  E-mail :

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. นางอรสา เข็มปัญญา                       นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

 โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0-2590-1542       โทรศัพท์มือถือ :

โทรสาร : 0-2580-1543                        E-mail :

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางยุภา คงกลิ่นสุคนธ์                      นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0-2580-1637        โทรศัพท์มือถือ :

โทรสาร : 0-2580-1648                     E-mail :

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. นางสาวแสงเดือน ยาสมุทร                นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0-2580-1637           โทรศัพท์มือถือ :

โทรสาร : 0-2580-1648                     E-mail :

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

3. เรืออากาศเอกนายแพทย์สมชาย ธนะสิทธิชัย      ผู้อํานวยการสถาบันวิจัยและประเมิน เทคโนโลยีทางการแพทย์

โทรศัพท์ที่ทํางาน : 0-2590-6245       โทรศัพท์มือถือ : 081-897-7900

โทรสาร : 0-2965-9844                   E-mail : dr.somchai.t@gmail.com

กรมการแพทย์

4. นายแพทย์บุรินทร์ สุรอรุณสัมฤทธิ์        ผู้อํานวยการกองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต

โทรศัพท์ที่ทํางาน : 0-2590-8207          โทรศัพท์มือถือ : 089-666-7553

โทรสาร : 0-2149-5533                         Email : burinsura@hotmail.com

กรมสุขภาพจิต

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-01-21 13:12:03
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>