ร้อยละของ รพ. ขนาด M2 ขี้นไปที่มีการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุระดับพื้นฐานขึ้นไป

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของ รพ. ขนาด M2 ขี้นไปที่มีการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุระดับพื้นฐานขึ้นไป
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่008.2
Sort Order0
คำนิยาม

คลินิกผู้สูงอายุระดับพื้นฐาน หมายถึง มีการจัดระบบบริการสุขภาพแบบผู้ป่วยนอก
ที่ครอบคลุมประเด็นดังต่อไปนี้ทุกหัวข้อ

  • มีระบบการคัดกรอง หรือ รับส่งต่อจากระบบการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุระดับชุมชน (community screening)
  • มีการประเมิน วินิจฉัย กลุ่มอาการหรือปัญหาสุขภาพสำคัญของสูงอายุ
    อย่างน้อย 2 จาก 9 เรื่อง
  • มีระบบการดูแลรักษา กลุ่มอาการหรือปัญหาสุขภาพสำคัญของสูงอายุ
    อย่างน้อย 2 จาก 9 เรื่อง
  • กลุ่มอาการหรือปัญหาสุขภาพสำคัญของสูงอายุคือ 1. ด้านความคิดความจำ
    2. ด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย 3. ด้านการขาดสารอาหาร 4. ด้านการมองเห็น
    5. ด้านการได้ยิน 6.ด้านภาวะซึมเศร้า 7. ด้านการกลั้นปัสสาวะ
    8. ด้านการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน (ADL) และ 9. ช่องปาก
  • มีคู่มือการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ และ ปัญหาสุขภาพสำคัญของสูงอายุ
    ไว้ให้พร้อมใช้อ้างอิงในแผนกผู้ป่วยนอก
  • มีผู้รับผิดชอบในการประสานงานส่งต่อผู้ป่วยและติดตามให้ผู้ป่วยสูงอายุ
    ได้รับการรักษากลุ่มอาการสูงอายุอย่างเหมาะสม

คลินิกผู้สูงอายุระดับคุณภาพ หมายถึง มีการจัดบริการคลินิกผู้สูงอายุขึ้นเป็น
การเฉพาะ โดยผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ ของกรมการแพทย์
ในระดับ 20 คะแนนขึ้นไป

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aแห่ง
นิยามของค่า Aจำนวนโรงพยาบาลขนาด M2 ขึ้นไปที่มีบริการคลินิกผู้สูงอายุระดับ
หน่วยของค่า Bแห่ง
นิยามของค่า Bจำนวนโรงพยาบาลขนาด M2 ขึ้นไปที่มีบริการคลินิกผู้สูงอายุระดับคุณภาพ
หน่วยของค่า Cแห่ง
นิยามของค่า Cจำนวนโรงพยาบาลขนาด M2 ขึ้นไปทั้งหมด
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด((A+B)/C)*100
Operator=
เกณฑ์เป้าหมายระดับพื้นฐานขึ้นไป 100%
ประชากรกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ 60 ปีบริบูรณ์ ขึ้นไป
ค่าเป้าหมาย100.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. คณะประเมินคลินิกผู้สูงอายุ รายงานผลการประเมินผ่าน website สถาบันเวชศาสตร์ฯผู้สูงอายุ กรมการแพทย์

2. สถาบันเวชศาสตร์ฯผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ รวบรวม ประเมินผล และออกเป็นรายงานประจำปี และส่งคืนข้อมูลให้กับโรงพยาบาลเป้าหมาย จังหวัด และ เขตสุขภาพ

แหล่งข้อมูล

Website สถาบันเวชศาสตร์ฯผู้สูงอายุ กรมการแพทย์

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผล1. โรงพยาบาลเป้าหมายประเมินตนเอง ไตรมาสที่ 2 ของปีงบประมาณ 2. คณะประเมิน ทำการประเมิน ไตรมาสที่ 3 – 4 ของปีงบประมาณ
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

-

ร้อยละ

-

-

-

หมายเหตุ – เป็นตัวชี้วัดใหม่ ปี 2564

เกณฑ์การประเมินผล

เกณฑ์การประเมิน                                                                                                               

ปี 2564:

ตัวชี้วัด

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ระดับคุณภาพ

-

ระดับคุณภาพ ≥ 25%

-

ระดับคุณภาพ ≥ 30%

ระดับพื้นฐาน

-

ระดับพื้นฐานขึ้นไป ≥75%

-

ระดับพื้นฐานขึ้นไป 100%

 

 

 

 

 

                                                         Small Success ปี 2564

3 เดือน

6 เดือน

9 เดือน

เดือน

  • การจัดทำคู่มือการประเมินคลินิกผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
  • การจัดทำระบบรายงานผลการประเมินผ่าน website
  • อบรมแนวทางการดำเนินงานและการประเมินคลินิกผู้สูงอายุ
  • โรงพยาบาลเป้าหมายทำการประเมินตนเอง โดยผ่านเว็บไซด์คลินิกผู้สูงอายุ ของสถาบันเวชศาสตร์ฯผู้สูงอายุ

 

  • คณะประเมินทำการประเมินโรงพยาบาลเป้าหมาย โดยผ่านเว็บไซด์คลินิกผู้สูงอายุ ของสถาบันเวชศาสตร์ฯผู้สูงอายุ
  • สถาบันเวชศาสตร์ฯผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ รวบรวม ประเมินผล และออกเป็นรายงานประจำปี และส่งคืนข้อมูลให้กับโรงพยาบาลเป้าหมาย จังหวัด และ เขตสุขภาพ
  • สรุปผลการดำเนินงานและวางแผนการดำเนินงานสำหรับ
    ปีงบฯ 2564
  • จัดกิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน

 

ปี 2565:

ตัวชี้วัด

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ระดับคุณภาพ

*

ระดับคุณภาพ ≥ 35%

*

ระดับคุณภาพ ≥ 40%

ระดับพื้นฐาน

-

ระดับพื้นฐานขึ้นไป 100%

-

ระดับพื้นฐานขึ้นไป 100%

 

 

 

 

 

 

ปี 2566:

ตัวชี้วัด

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ระดับคุณภาพ

-

ระดับคุณภาพ ≥ 45%

-

ระดับคุณภาพ ≥ 50%

ระดับพื้นฐาน

-

ระดับพื้นฐานขึ้นไป 100%

-

ระดับพื้นฐานขึ้นไป 100%

 

วิธีการประเมินผล

1. ทำการประเมินตามคู่มือการประเมินคลินิกผู้สูงอายุ กรมการแพทย์

2. ทำการประเมินโดยคณะประเมินจากอีกจังหวัดหนึ่งในเขตบริการสุขภาพเดียวกัน

3. เป้าหมายร้อยละของโรงพยาบาล ขนาด M2 ขึ้นไปที่มีการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุ

เป็นเป้าหมายที่เน้นเป้าระดับเขต

เอกสารสนับสนุน

1. คู่มือการประเมินคลินิกผู้สูงอายุ กรมการแพทย์

2. แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ (Geriatric Syndromes)

3. คู่มือการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุในสถานบริการสุขภาพ

4. คู่มือแนวทางการดำเนินงานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพและประเด็นสำคัญ
ด้านเวชศาสตร์ผู้สูงอายุในแผนกผู้ป่วยนอก

5. หนังสือ/คู่มือ/เอกสารบรรยายฯลฯ อื่น ๆ สามารถขอรับการสนับสนุนได้ที่สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ หรือสามารถดาวน์โหลดจาก website http://agingthai.dms.moph.go.th

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นพ.สกานต์ บุนนาค                       นายแพทย์เชี่ยวชาญ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6211 ต่อ 819  โทรศัพท์มือถือ : 08 0453 1110

โทรสาร : 0 2591 8277                      E–mail : sakarnbunnag@yahoo.com

สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ กรมการแพทย์

2. นางนิติกุล ทองน่วม                       นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน 0 2590 6211 ต่อ 823   เบอร์มือถือ 08 4653 3443

E-mail: fasai7sky@yahoo.com

สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ กรมการแพทย์

3. นางสาวปนิตา มุ่งกลาง                    นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

เบอร์โทรศัพท์. 0 2590 6211 ต่อ 818      เบอร์มือถือ 09 3321 5288

E-mail: pani_tangmo@hotmail.com

สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ กรมการแพทย์

4. นางสาวคุนัญญา แก้วภาพ                ผู้ช่วยนักวิจัย

เบอร์โทรศัพท์. 0 2590 6211 ต่อ 816       เบอร์มือถือ 09 0956 5597

E-mail: chalang2012@gmail.com

สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ กรมการแพทย์

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6211 - 13    

 

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นายพินิจ เอิบอิ่ม                           นักวิเคราะห์นโยบายและ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6211           โทรศัพท์มือถือ : 08 4681 1567

โทรสาร : 0 2591 8277                     E–mail : piniterbim@gmail.com

สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ กรมการแพทย์   

2. นายปวิช อภิปาลกุล                       นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6350          โทรศัพท์มือถือ : 09 8546 3564

โทรสาร : 0 2591 8279                     E-mail: eva634752@gmail.com

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมการแพทย์

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-05-22 21:01:19
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>