ระดับความสำเร็จของการจัดทำสิทธิประโยชน์กลางการดูแลปฐมภูมิ ของระบบหลักประกันสุขภาพ 3 ระบบ

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการจัดทำสิทธิประโยชน์กลางการดูแลปฐมภูมิ ของระบบหลักประกันสุขภาพ 3 ระบบ
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่071
Sort Order0
คำนิยาม

 

      สิทธิประโยชน์ หมายถึง กลุ่มรายการบริการสุขภาพทั้งหมดที่กำหนดในกฎหมาย
ซึ่งอาจกำหนดในรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายเฉพาะสำหรับการจัดหลักประกันสุขภาพ

       สิทธิประโยชน์กลาง หมายถึง ชุดสิทธิประโยชน์กลางที่กองทุนหลักประกันสุขภาพของรัฐทั้ง 3 กองทุน มีกลไกการพิจารณาร่วมกันและเห็นพ้องว่าเป็นสิทธิประโยชน์
ที่ประชากรกลุ่มเป้าหมายของแต่ละระบบหลักประกันสุขภาพจะได้รับอย่างเท่าเทียมกันภายใต้แนวคิดความคุ้มค่า ความเป็นธรรมและความสามารถในการจ่ายของกองทุน

     บริการสุขภาพปฐมภูมิ หมายถึง บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่มุ่งหมาย ดูแลสุขภาพของบุคคลในเขตพื้นที่รับผิดชอบในลักษณะองค์รวม ตั้งแต่แรก ต่อเนื่อง และผสมผสาน ครอบคลุมทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมโรค การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพ โดยหน่วยบริการปฐมภูมิ
หรือเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิที่ประกอบด้วย แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวและ
คณะผู้ให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ รวมทั้งเชื่อมโยงกับครอบครัว ชุมชน และบริการ
ทางการแพทย์และสาธารณสุขระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ

       ระบบหลักประกันสุขภาพ 3 ระบบ หมายถึง ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ  ระบบประกันสังคม (สิทธิประโยชน์ กรณีเจ็บป่วย) และ ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

       ระดับความสำเร็จของการจัดทำสิทธิประโยชน์กลางการดูแลปฐมภูมิ ของระบบหลักประกันสุขภาพ 3 ระบบ หมายถึง การมีสิทธิประโยชน์ระบบหลักประกันสุขภาพ    ตามเกณฑ์การให้คะแนนที่กำหนด 5 ขั้นตอน

ขั้นตอนการดำเนินงาน

เกณฑ์การให้คะแนน

1

จัดเตรียมข้อมูลและประสานงาน หรือสนับสนุนคณะกรรมการ/ คณะอนุกรรมการ/ คณะทำงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อประชุมระดมความคิดเห็นในส่วนที่เกี่ยวข้อง

2

จัดทำแผนและขั้นตอนการดำเนินงานวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำรายการชุดสิทธิประโยชน์กลางการดูแลปฐมภูมิ ของระบบหลักประกันสุขภาพ 3 ระบบ

3

มีการดำเนินการตามแผน เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำรายการชุดสิทธิประโยชน์กลางการดูแลปฐมภูมิ ของระบบหลักประกันสุขภาพ 3 ระบบ

4

มีร่างรายการชุดสิทธิประโยชน์กลางการดูแลปฐมภูมิ ของระบบหลักประกันสุขภาพ 3 ระบบ

5

5.1 ประชุมรับฟังความคิดเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ต่อ “ร่างชุดสิทธิประโยชน์กลางการดูแลปฐมภูมิ ของระบบหลักประกันสุขภาพ
3 ระบบ”

5.2 สังเคราะห์และจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ “รายการชุดสิทธิประโยชน์กลางการดูแลปฐมภูมิ ของระบบหลักประกันสุขภาพ
3 ระบบ”

5.3 นำเสนอผลการจัดทำ “รายการชุดสิทธิประโยชน์กลางการดูแลปฐมภูมิ ของระบบหลักประกันสุขภาพ 3 ระบบ” ต่อคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข หรือ คณะกรรมการ/คณะทำงาน
ที่เกี่ยวข้อง

5.4 เผยแพร่ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป

 

หน่วยตัวชี้วัดขั้นตอน
หน่วยของค่า Aขั้นตอน
นิยามของค่า Aขั้นตอนการดำเนินการตามเป้าหมาย
หน่วยของค่า B
นิยามของค่า B
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัดA
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายมีผลการศึกษา รายการชุดสิทธิประโยชน์กลางการดูแลปฐมภูมิของระบบหลักประกันสุขภาพ 3 ระบบ
ประชากรกลุ่มเป้าหมายระบบหลักประกันสุขภาพภาครัฐทั้งสามระบบหลัก ได้แก่ 1. ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ 2. ระบบประกันสังคม 3. ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ค่าเป้าหมาย5.00
Max Value-
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

รวบรวมจากระบบรายงาน และผลการดำเนินงานของหน่วยงาน /หน่วยบริการที่เกี่ยวข้อง

แหล่งข้อมูล

หน่วยงาน คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือ คณะทำงานที่เกี่ยวข้อง

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาสที่ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

 

 

 

 

 

 
เกณฑ์การประเมินผล

 

เกณฑ์การประเมิน :

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

มีการนำเสนอแนวทางการเตรียมการขับเคลื่อนสิทธิประโยชน์กลางเพื่อนำเข้าในการประชุมคณะอนุกรรมการ กำหนดและประมาณการค่าใช้จ่ายชุดสิทธิประโยชน์หลักและชุดสิทธิประโยชน์เสริมและคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง

3 กองทุน รับทราบ ข้อเสนอสิทธิประโยชน์กลางเพื่อ จัดทำแนวทางการขับเคลื่อนสิทธิของแต่ละกองทุน

3 กองทุน มีการพิจารณาและเสนอแนวทางร่วมในการดำเนินงาน เรื่องสิทธิประโยชน์กลางต่อ คณะอนุกรรมการกำหนดและประมาณการค่าใช้จ่ายชุดสิทธิประโยชน์หลักและชุดสิทธิประโยชน์เสริมและคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง

มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผล และรายงานต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนและปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน คณะที่ 4

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

มีข้อเสนอแผนและขั้นตอนการดำเนินงานเพื่อกำหนดรายการสิทธิประโยชน์

มีสรุปผลการกำหนดรายการสิทธิประโยชน์ ที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วยใน

มีผลการวิเคราะห์ความแตกต่างของรายการสิทธิประโยชน์ที่จำเป็นของ ผู้ป่วยใน 3 กองทุน

มีข้อเสนอสิทธิประโยชน์กลางที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วยใน

 

 

 

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน 

รอบ 12 เดือน

มีแผนและขั้นตอนการดำเนินงานวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำรายการชุดสิทธิประโยชน์กลางการดูแลปฐมภูมิ ของระบบหลักประกันสุขภาพ
3 ระบบ

รายงานเบื้องต้น เพื่อพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์

กลาง การดูแลปฐมภูมิ ของระบบหลักประกันสุขภาพ 3 ระบบ

มีร่างรายการชุดสิทธิประโยชน์กลาง การดูแลปฐมภูมิ ของระบบหลักประกันสุขภาพ
3 ระบบ

 

มีผลการศึกษา

ฉบับสมบูรณ์ รายการชุดสิทธิประโยชน์กลางการดูแลปฐมภูมิของระบบหลักประกันสุขภาพ

3 ระบบ

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2565:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

มีการปรับปรุงกลไกการจ่ายที่สอดคล้องกับสิทธิประโยชน์กลางการดูแล
ปฐมภูมิ ของระบบหลักประกันสุขภาพ 3 ระบบ

 

 

วิธีการประเมินผล

ประเมินความสำเร็จ ขั้นตอนการดำเนินงานที่ 5

เอกสารสนับสนุน
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นายกรกฤช   ลิ้มสมมุติ                     ผู้อำนวยการกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1553        โทรศัพท์มือถือ : 09 5551 6996

   โทรสาร :  -                                 E-mail : owbnaja@gmail.com

2. นางณัฐญาภรณ์  เพชรถิรสวัสดิ์           หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาหลักประกันสุขภาพ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1557       โทรศัพท์มือถือ : 08 5614 3694

    โทรสาร : -                                E-mail : ning_nong_dond@gmail.com

กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

นางสุรีย์พร  องอาจอิทธิชัย                  นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กลุ่มงานพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์  เศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1574           โทรศัพท์มือถือ : 06 5423 9895

โทรสาร : 0 2590 1576                     E-mail : khuntum.srp@gmail.com

กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-05-20 16:11:47
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>