ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด)

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด)
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่064.2
Sort Order0
คำนิยาม

 

ส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข หมายถึง ส่วนราชการตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 ดังนี้

  1. กองส่วนกลาง จำนวน 12 กอง
  2. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด จำนวน 76 แห่ง
  3. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ จำนวน 878 แห่ง

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมายถึง การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการองค์กรตามแนวทางเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ.2562 (Public Sector Management Quality Award : PMQA) ประกอบด้วย    1) ลักษณะสำคัญขององค์กร 2) เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 7 หมวด คือ หมวด 1 การนำองค์การ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ หมวด 5 บุคลากร หมวด 6 การปฏิบัติการ และหมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ โดยส่วนราชการดำเนินการในปี 2564- 2565  ดังนี้

  1. จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร จำนวน 13 ข้อคำถาม และทบทวนทุกปี
  2. ดำเนินการประเมินองค์การด้วยตนเอง(Self-Assessment) หมวด 1- 6 หาโอกาสในการปรับปรุง (Opportunity For Improvement: OFI)
  3. นำโอกาสในการปรับปรุง (OFI) มาจัดลำดับความสำคัญและจัดทำแผนพัฒนาองค์การ หมวดละ 1 แผน
  4. กำหนดตัวชี้วัดหมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการตามหัวข้อ 7.1-7.6 จำนวน 6 หัวข้อ ครบ 18 ข้อ
  5. ดำเนินการแผนพัฒนาองค์การ
  6. จัดส่งเอกสารรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานของแผนพัฒนาองค์การและตัวชี้วัด รอบ 3, 6, 9 และ 12 เดือน ให้กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ภายในระยะเวลาที่กำหนด
  7. จัดทำแนวทางการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) และผลงานที่โดดเด่นจากการนำเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) มาพัฒนาบริหารจัดการองค์กรอย่างน้อย 1 เรื่อง
หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aจังหวัด
นิยามของค่า Aจำนวนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
หน่วยของค่า Bจังหวัด
นิยามของค่า Bจำนวนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (76 แห่ง)
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B) x 100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายระดับ 5 (ร้อยละ 95)
ประชากรกลุ่มเป้าหมายสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
ค่าเป้าหมาย95.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

จากรายงานผลการประเมินของกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

แหล่งข้อมูล

กองส่วนกลาง

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงาน

ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

ร้อยละความสำเร็จของกอง ส่วนกลางที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

ร้อยละ

64.83

(8 กอง)

100

(13 กอง)

100

(12 กอง)

ร้อยละความสำเร็จของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

ร้อยละ

94.74

(72 แห่ง)

97.36

(74 แห่ง)

100

(76 แห่ง)

ร้อยละความสำเร็จของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

ร้อยละ

63.21

(555 แห่ง)

98.74

(867 แห่ง)

98.86

(868 แห่ง)

เกณฑ์การประเมินผล

เกณฑ์การประเมิน ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1. ส่วนราชการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์การครบ 13 คำถาม (แบบฟอร์ม 1) ส่งภายในวันที่ 11  มกราคม 2564

 

 

 

2. ส่วนราชการประเมินตนเอง (Self-Assessment) เทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ. 2562 หมวด 1-6 (แบบฟอร์ม 2) จัดส่งภายในวันที่ 11 มกราคม 2564

 

3. ส่วนราชการนำโอกาสในการปรับปรุง (Opportunity for Improvement: OFI) มาจัดลำดับและจัดทำแผนพัฒนาองค์การหมวดละ 1 จัดส่งภายในวันที่ 11 มกราคม 2564

4. ส่วนราชการกำหนดตัวชี้วัดหมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ หัวข้อ 7.1-7.6 ครบ18 ข้อ และจัดส่งภายในวันที่ 11 มกราคม 2564

1.รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานของแผนพัฒนาองค์การ รอบ 6 เดือนผ่านระบบออนไลน์ ภายในวันที่ 2 เมษายน 2564

 

 

2.รายงานความก้าวหน้าผลลัพธ์ตัวชี้วัด รอบ 6 เดือน ผ่านระบบออนไลน์ ภายในวันที่ 2 เมษายน 2564

 

1.รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานของแผนพัฒนาองค์การ รอบ 9 เดือนผ่านระบบออนไลน์ ภายในวันที่ 2 กรกฎาคม 2564

 

 

2.รายงานความก้าวหน้าผลลัพธ์ตัวชี้วัด รอบ 9 เดือน ผ่านระบบออนไลน์ ภายในวันที่ 2 กรกฎาคม 2564

 

1.รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานของแผนพัฒนาองค์การ รอบ 12 เดือนผ่านระบบออนไลน์ ภายในวันที่ 24 กันยายน 2564

 

 

2.รายงานความก้าวหน้าผลลัพธ์ตัวชี้วัด รอบ 12 เดือน ผ่านระบบออนไลน์ ภายในวันที่ 24 กันยายน 2564

 

 

 

3. ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) จำนวน 5 หน้า ดังนี้

3.1 แนวทางปฏิบัติหรือวิธีการและผลลัพธ์การดำเนินการ

3.2 ตัวอย่าง ผลงานที่โดดเด่น

3.3 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

3.4 สิ่งที่ได้เรียนรู้เพื่อพัฒนาต่อไป

(แบบฟอร์ม 5) ผ่านระบบออนไลน์ภายในวันที่ 24 กันยายน 2564

 

 

 

วิธีการประเมินผล

 

ระดับคะแนน                                                            ขั้นตอนการดำเนินงาน

1                              ส่วนราชการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์การ(แบบฟอร์ม 1)ได้ครบถ้วน ส่งภายในวันที่ 11 มกราคม 2564

                                                                                 เกณฑ์การให้คะแนน

                              0.20 คะแนน          0.40 คะแนน          0.60 คะแนน           0.80 คะแนน          1  คะแนน

                                  5 คำถาม              7 คำถาม                 9 คำถาม                11 คำถาม              13 คำถาม

                              เกณฑ์การให้คะแนน +/- 2 คำถาม ต่อ 0.20 คะแนน (interval)

2                         ส่วนราชการประเมินตนเอง (Self-Assessment) เทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ. 2562 ใน หมวดที่ดำเนินการได้ครบถ้วน  (แบบฟอร์ม 2) จัดส่งภายในวัน                              ที่ 11 มกราคม 2564

                                                                                   เกณฑ์การให้คะแนน

                     โอกาสในการปรับปรุง(OFI)                        0.20 คะแนน                1 คะแนน

                          หมวด 1-6                                             ไม่ครบ 6 หมวด            ครบ 6 หมวด

                           เกณฑ์การให้คะแนน ไม่ครบ 6 หมวด ต่อ 0.50 คะแนน (interval)

3                         ส่วนราชการนำโอกาสในการปรับปรุง (OFI) มาจัดลำดับและทำแผนพัฒนาองค์การ หมวดละ 1 แผน (แบบฟอร์ม3) จัดส่งภายในวันที่ 11 มกราคม 2564

                                                       

                                                                                             เกณฑ์การให้คะแนน

                     แผนพัฒนาองค์การ                                  0.20 คะแนน                1 คะแนน

                         หมวด 1-6                                             ไม่ครบ 6 หมวด            ครบ 6 หมวด

4                          ส่วนราชการกำหนดตัวชี้วัดหมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการจัดส่งภายใน 11 มกราคม 2564

                             เกณฑ์การให้คะแนน +/- 1 ตัวชี้วัด ต่อ 0.10 คะแนน (interval)

                                                                                                                        เกณฑ์การให้คะแนน

                                      หมวด 7ผลลัพธ์การดำเนินการ                   0.20 คะแนน                                      1 คะแนน

                                        ตัวชี้วัด 7.1 – 7.6 (18 ข้อ)                   ไม่ครบ    (18 ข้อ)                                 ครบ (18 ข้อ)

5                            ส่วนราชการรายงานผลการดำเนินการความก้าวหน้าของแผนพัฒนาองค์การและรายงานผลลัพธ์ของตัวชี้วัด ผ่านระบบออนไลน์ภายในระยะเวลาที่กำหนด ดังนี้

                              รอบ 6 เดือน ภายในวันที่ 2 เมษายน 2564

                              รอบ 9 เดือน ภายในวันที่ 2 กรกฎาคม 2564

                              รอบ 12 เดือน ภายในวันที่ 24 กันยายน 2564

                              ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices)         จำนวน 5 หน้า (แบบฟอร์ม 5) ดังนี้

                       1) แนวทางปฏิบัติหรือวิธีการและผลลัพธ์การดำเนินการ

                       2) ตัวอย่าง ผลงานที่โดดเด่น

                       3) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ

                       4) สิ่งที่ได้เรียนรู้เพื่อพัฒนาต่อไป

                             ผ่านระบบออนไลน์ภายในวันที่ 24 กันยายน 2564

เอกสารสนับสนุน

เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ. 2562 สามารถดาวน์โหลดได้ที่http://www.opdc.go.th/

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นางสุวรรณา  เจริญสวรรค์                  นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901038        โทรศัพท์มือถือ: 081-9316052

    โทรสาร : 02-5901406                     E-mail : oeysuwanna@gmail.com

2. น.ส.อังคณางค์  หัวเมืองวิเชียร             นักวิเคราห์นโยบายและแผน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901038         โทรศัพท์มือถือ:  081-2558277

    โทรสาร : 02-5901406                      E-mail : lkung1038@gmail.com

3. นายอภิรัฐ  ดีทองอ่อน                        นักวิเคราห์นโยบายและแผน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901963         โทรศัพท์มือถือ: 085-3652444

    โทรสาร : 02-5901406                      E-mail : a.deethongon@gmail.com

4. น.ส.กฤติกา ทรีย์มาติพันธ์                   นักวิเคราห์นโยบายและแผน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901963         โทรศัพท์มือถือ : 095-7120954

    โทรสาร : 02-5901406                      E-mail : trekrittikas@gmail.com

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กลุ่มพัฒนาระบบริหาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

   นางสุวรรณา  เจริญสวรรค์                  นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901038        โทรศัพท์มือถือ :081-9316052

   โทรสาร : 02-5901406                      E-mail: oeysuwanna@gmail.com

 

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2022-01-01 00:02:15
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>