ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่058
Sort Order0
คำนิยาม

1. เขตสุขภาพ (Regional Health) หมายถึง ระบบการบริหารงานส่วนกลางในส่วนภูมิภาค เพื่อให้การบริหารจัดการเกิดบริการสุขภาพแบบบูรณาการภายในเขตสุขภาพ โดยมีเป้าหมายลดอัตราป่วย อัตราตายของประชาชน และให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการบริการในทุกระดับอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม โดยมีแนวนโยบายจะมีการกระจายอำนาจในการบริหารจัดการลงไปในระดับพื้นที่ แบ่งออกเป็น 12 เขตสุขภาพ ประกอบด้วยจังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบ ดังนี้

เขตสุขภาพ

จำนวนจังหวัด

จังหวัด

1

8

เชียงราย เชียงใหม่ น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน

2

5

ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย อุตรดิตถ์

3

5

กำแพงเพชร  พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท

4

8

นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง นครนายก

5

8

กาญจนบุรี นครปฐม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สุพรรณบุรี

6

8

จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด ปราจีนบุรี ระยอง สระแก้ว สมุทรปราการ

7

4

กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด

8

7

นครพนม บึงกาฬ เลย สกลนคร หนองคาย หนองบัวลำภู อุดรธานี

9

4

ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์

10

5

ยโสธร ศรีสะเกษ อุบลราชธานี อำนาจเจริญ มุกดาหาร

11

7

กระบี่ ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ต ระนอง สุราษฎร์ธานี 

12

7

นราธิวาส ปัตตานี ยะลา สงขลา สตูล พัทลุง ตรัง

    2. การบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ หมายถึง การดำเนินงานด้านบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์ เพื่อให้มีสัดส่วนประเภทกำลังคนและการกระจายตัวอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับแผนปฏิรูปประเทศ แผนปฏิรูปกำลังคนและภารกิจบริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่การสรรหา คัดเลือก บรรจุ พัฒนา ธำรงรักษา และใช้ประโยชน์ทรัพยากรบุคคลขององค์กร เพื่อตอบสนองต่อนโยบายยุทธศาสตร์และเป้าหมายขององค์กรได้ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มุ่งเน้นการขับเคลื่อนเป้าหมายการดำเนินการการบริหารตำแหน่งว่างของหน่วยงานตามแนวทางการใช้กำลังคนที่คณะกรรมการกำหนดเป้าหมายและนโยบายกำลังคนภาครัฐ (คปร.) กำหนด และแนวทางที่สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขกำหนด ประกอบด้วยประเด็นการดำเนินการ 4 ประเด็นดังนี้

        2.1 มีข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ หมายถึง มีการตรวจสอบข้อมูลตำแหน่งว่างที่ถูกต้องเป็นปัจจุบัน มีกระบวนการตรวจสอบข้อมูลตำแหน่งว่าง มีการวิเคราะห์ข้อมูลตำแหน่งว่าง สำหรับใช้ในการกำหนดแผนการบริหารตำแหน่งที่สอดคล้องกับแผนความต้องการกำลังคนของเขตสุขภาพ

 2.2 มีแผนบริหารตำแหน่งว่าง

1) ตำแหน่งว่าง หมายถึง ตำแหน่งที่ไม่มีผู้ครองตำแหน่ง ประเภทข้าราชการและพนักงานราชการทุกสายงาน โดยไม่เกินกรอบอัตรากำลังที่กำหนด

            2) ตำแหน่งว่างเป้าหมาย หมายถึง ตำแหน่งว่างประเภทข้าราชการ และพนักงานราชการ ตามเงื่อนไข ที่ สป.สธ. กำหนดให้เขตสุขภาพ จังหวัด หน่วยงานดำเนินการบริหารจัดการให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด เช่น ตำแหน่งว่าง และตำแหน่งว่างที่มีเงื่อนไขการกันตำแหน่ง ได้แก่ เงื่อนไขบรรจุกลับ บรรจุผู้ได้รับคัดเลือก บรรจุผู้สอบแข่งขัน เลื่อน ยุบรวม/ปรับปรุง รับย้าย ฯลฯ โดยไม่รวมตำแหน่งว่างระหว่างปี เช่น เสียชีวิต ลาออก และตำแหน่งว่างจากสาเหตุการโอนไปส่วนราชการอื่น ฯลฯ

3) แผนบริหารตำแหน่งว่าง หมายถึง การกำหนดวิธีการ/กระบวนการ/ขั้นตอนการบริหารจัดการตำแหน่งว่างของหน่วยงาน เพื่อให้สามารถสรรหาบุคลากรมาดำรงตำแหน่ง  ได้ตามเป้าหมายที่กำหนด เช่น การจัดสรรเพื่อคัดเลือกบรรจุ การเรียกตัวผู้สอบแข่งขัน การรับย้าย/รับโอน/บรรจุกลับ การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น การยุบรวม และกำหนดเป็นสายงานที่มีความจำเป็น

  2.3 มีการดำเนินการบริหารตำแหน่งว่างให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดตามแผน

หมายถึง การดำเนินการสรรหา คัดเลือก รวมทั้งการบริหารจัดการตำแหน่ง เช่น คัดเลือกบรรจุ การเรียกตัวผู้สอบแข่งขัน การรับย้าย/รับโอน/บรรจุกลับ ฯลฯ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ ก.พ. กำหนด หรือระเบียบ/ข้อบังคับอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถสรรหาบุคลากรมาดำรงตำแหน่งได้ตามเป้าหมายที่กำหนดและความต้องการกำลังคนของ สป.สธ./กระทรวง โดยจะต้องมีการบันทึกคำสั่งและข้อมูลลงในระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการบุคลากรสาธารณสุข (HROPS)   

2.4 ตำแหน่งว่างลดลงตามเป้าหมายที่กำหนด หมายถึง ตำแหน่งว่างเป้าหมายของบุคลากรประเภทข้าราชการและพนักงานราชการ คงเหลือไม่เกินร้อยละ 4 ในไตรมาสที่ 4 เมื่อเทียบกับจำนวนตำแหน่งทั้งหมดของข้าราชการและพนักงานราชการที่มีอยู่ ณ วันที่รายงานผล

    3. ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ หมายถึง จำนวนเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ (การดำเนินการดำเนินการบริหารตำแหน่งว่างของหน่วยงาน ตามแนวทางและเป้าหมายที่ สป.สธ. กำหนด) เทียบกับจำนวนเขตสุขภาพทั้งหมด มีสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75

 

หน่วยตัวชี้วัดจำนวน
หน่วยของค่า Aเขต
นิยามของค่า Aจำนวนเขตสุขภาพที่มีตำแหน่งว่างผ่านเกณฑ์ไม่เกิน ร้อยละ 4
หน่วยของค่า B
นิยามของค่า B
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัดA
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมาย≥ 9 เขตสุขภาพผ่านเกณฑ์ ตำแหน่งว่างคงเหลือไม่เกินร้อยละ 4
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย1. บุคลากรสาธารณสุขประเภทข้าราชการ และพนักงานราชการ 2. เขตสุขภาพ และหน่วยงานในสังกัดเขตสุขภาพ (สสจ. รพศ. รพท. รพช. สสอ. รพ.สต.และ สอ.น.)
ค่าเป้าหมาย1.00
Max Value-
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. ฐานข้อมูลระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการบุคลากรสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (HROPS)
2. เอกสารแผนบริหารตำแหน่งว่างและการดำเนินการตามแผนของเขตสุขภาพ

 

แหล่งข้อมูล

1. ระบบ HROPS

2. เขตสุขภาพ และหน่วยงานในสังกัดเขตสุขภาพ (สสจ. รพศ. รพท. รพช. สสอ. รพ.สต.
และ สอ.น.)

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญใช่
ตัวชี้วัด Area Baseใช่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาสที่ 2 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ

ร้อยละ

-

5.24

(ณ 1 ส.ค. 62)

4.62

(ณ 1 ต.ค. 63)

 
เกณฑ์การประเมินผล

เกณฑ์การประเมิน :

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

≥ 9 เขตสุขภาพ

มีตำแหน่งว่างคงเหลือ

ไม่เกินร้อยละ 6

-

≥ 9 เขตสุขภาพ

มีตำแหน่งว่างคงเหลือ

ไม่เกินร้อยละ 4

 

 

 

 

 

ปี 2565:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

≥ 10 เขตสุขภาพ

มีตำแหน่งว่างคงเหลือ

ไม่เกินร้อยละ 5

-

≥ 10 เขตสุขภาพ

มีตำแหน่งว่างคงเหลือ

ไม่เกินร้อยละ 3

 

 

 

 

 

ปี 2566:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

12 เขตสุขภาพ

มีตำแหน่งว่างคงเหลือ

ไม่เกินร้อยละ 5

-

12 เขตสุขภาพ

มีตำแหน่งว่างคงเหลือ

ไม่เกินร้อยละ 3

 

วิธีการประเมินผล

วิเคราะห์ข้อมูลจากฐานข้อมูลในระบบ HROPS

เอกสารสนับสนุน

-

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

นายสรรเสริญ  นามพรหม                  ผู้อำนวยการกองบริหารทรัพยากรบุคคล

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1410           โทรศัพท์มือถือ : -

โทรสาร :  02-590-1421                    E-mail : sansernx@gmail.com

กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

 

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กลุ่มภารกิจด้านบริหารแผนกำลังคนและทุนมนุษย์ กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

1. นางมัธยัสถ์ เหล่าสุรสุนทร                นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการพิเศษ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-2067         โทรศัพท์มือถือ : -

กลุ่มงานอัตรากำลัง กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. นางสาวเสาวลักษณ์ ฉิมจาด                        นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการพิเศษ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-1356       โทรศัพท์มือถือ : -

   โทรสาร :                                   E-mail : teamhr_teamhr@hotmail.com

กลุ่มงานบริหารและพัฒนารูปแบบการจ้างงานทางเลือก กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

3. นางสาวอรพิน  ทองสมนึก               นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-2081       โทรศัพท์มือถือ : -

   โทรสาร :                                   E-mail : nok_orapin@hotmail.co.th

กลุ่มงานบริหารผลการปฏิบัติราชการและเทคโนโลยีสารสนเทศด้านบริหารทรัพยากรบุคคลกองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

4. นายพรชัย  ปอสูงเนิน                     นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการพิเศษ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-1857       โทรศัพท์มือถือ : -

   โทรสาร : 02-5901858                              E-mail : hrmoph@gmail.com

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

กลุ่มงานยุทธศาสตร์และมาตรฐานด้านบริหารทรัพยากรบุคคล กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

1. นางฐิตาภรณ์  จันทร์สูตร                 นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการพิเศษ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901348        โทรศัพท์มือถือ : 091-8864662

   โทรสาร : 02-5901344                             E-mail : hrmd.strategy@gmail.com

2. นายเจริญ  เบ้านาวา                      นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901344        โทรศัพท์มือถือ : 091-8864662

   โทรสาร : 02-5901344                            E-mail : hrmd.strategy@gmail.com

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base-
Areabase Kpi Regioncode-
หมายเหตุ
Last Update2021-07-16 11:39:18
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>