ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่051
Sort Order0
คำนิยาม

ประชากร หมายถึง ประชาชนที่เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤตทุกคนในประเทศไทย

การเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน หมายถึง การที่ประชากรที่เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤตได้รับบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดยชุดปฏิบัติการฉุกเฉินที่ได้มาตรฐานตั้งแต่จุดเกิดเหตุจนถึงสถานพยาบาลโดยการสั่งการของศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ

ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต ได้แก่ บุคคลซึ่งได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการป่วยกะทันหันซึ่งมีภาวะคุกคามต่อชีวิตซึ่งหากไม่ได้รับปฏิบัติการแพทย์ทันที เพื่อแก้ไขระบบการหายใจ ระบบไหลเวียนเลือดหรือระบบประสาทแล้วผู้ป่วยจะมีโอกาสเสียชีวิตได้สูง หรือทำให้การบาดเจ็บหรืออาการป่วยของผู้ป่วยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้น หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นได้อย่างฉับไว ซึ่งไม่รวมผู้ป่วยส่งต่อ (Refer) โดยเป็นผู้ป่วยที่เข้าตามการคัดแยก ระดับ 1 และระดับ 2 ตามเกณฑ์การคัดแยก MOPH Triage ณ ห้องฉุกเฉิน

ชุดปฏิบัติการฉุกเฉิน หมายถึง ชุดปฏิบัติการที่ออกปฏิบัติการฉุกเฉินที่ได้ขึ้นทะเบียนในระบบการแพทย์ฉุกเฉินตามที่สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติกำหนด

ประชากร หมายถึง ประชาชนที่เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤตทุกคนในประเทศไทย

การเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน หมายถึง การที่ประชากรที่เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤตได้รับบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดยชุดปฏิบัติการฉุกเฉินที่ได้มาตรฐานตั้งแต่จุดเกิดเหตุจนถึงสถานพยาบาลโดยการสั่งการของศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ

ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต ได้แก่ บุคคลซึ่งได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการป่วยกะทันหันซึ่งมีภาวะคุกคามต่อชีวิตซึ่งหากไม่ได้รับปฏิบัติการแพทย์ทันที เพื่อแก้ไขระบบการหายใจ ระบบไหลเวียนเลือดหรือระบบประสาทแล้วผู้ป่วยจะมีโอกาสเสียชีวิตได้สูง หรือทำให้การบาดเจ็บหรืออาการป่วยของผู้ป่วยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้น หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นได้อย่างฉับไว ซึ่งไม่รวมผู้ป่วยส่งต่อ (Refer) โดยเป็นผู้ป่วยที่เข้าตามการคัดแยก ระดับ 1 และระดับ 2 ตามเกณฑ์การคัดแยก MOPH Triage ณ ห้องฉุกเฉิน

ชุดปฏิบัติการฉุกเฉิน หมายถึง ชุดปฏิบัติการที่ออกปฏิบัติการฉุกเฉินที่ได้ขึ้นทะเบียนในระบบการแพทย์ฉุกเฉินตามที่สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติกำหนด

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aครั้ง
นิยามของค่า Aจำนวนครั้งของผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตที่มาโดยระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS)
หน่วยของค่า Bครั้ง
นิยามของค่า Bจำนวนครั้งของผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตทั้งหมดที่มารับบริการที่ห้องฉุกเฉิน (ER Visit)
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 26
ประชากรกลุ่มเป้าหมายประชาชนทุกคนในประเทศไทย
ค่าเป้าหมาย26.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. จำนวนครั้งของผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตที่มาโดยระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) - จากการบันทึกข้อมูลผลการออกปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินของแต่ละจังหวัดในโปรแกรมระบบสารสนเทศการแพทย์ฉุกเฉิน (ITEMS)

2. จำนวนครั้งของผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตทั้งหมดที่มารับบริการที่ห้องฉุกเฉิน (ER Visit) - จากการบันทึกข้อมูลการคัดแยกผู้ป่วยของโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไป (ระดับ A, S และ M1) สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในโปรแกรมระบบสารสนเทศการแพทย์ฉุกเฉิน (ITEMS)  

แหล่งข้อมูล

โปรแกรมระบบสารสนเทศการแพทย์ฉุกเฉิน (ITEMS) 

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญใช่
ตัวชี้วัด Area Baseใช่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1, 2, 3 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

จำนวนของผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตที่มาโดย EMS

ครั้ง

111,256

54,628

91,851

 

จำนวนของผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตทั้งหมดที่มารับบริการที่ห้องฉุกเฉิน (ER Visit)

ครั้ง

404,902

242,683

373,487

ร้อยละ

ร้อยละ

27.47

22.51

24.59

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ไม่ต่ำกว่า

ร้อยละ 26

ไม่ต่ำกว่า

ร้อยละ 26

ไม่ต่ำกว่า

ร้อยละ 26

ไม่ต่ำกว่า

ร้อยละ 26

วิธีการประเมินผล

การเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับค่าเป้าหมายที่กำหนด ทุกไตรมาส

เอกสารสนับสนุน

1. รายงานข้อมูลการให้บริการในระบบ ITEMS

2. รายงานการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินจากโรงพยาบาลระดับ A, S และ M1 ภาครัฐ ทุกแห่ง

3.  กรมการแพทย์ (สำนักวิชาการแพทย์). MOPH ED Triage. นนทบุรี: สำนักวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2561

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นางสินีนุช ชัยสิทธิ์ ผู้จัดการกลุ่มงานติดตามและประเมินผล

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 028721600 โทรศัพท์มือถือ : 0818191669

โทรสาร : 028721603 E-mail : sineenuch.c@niems.go.th

2. นายสุวภัทร อภิญญานนท์ ผู้ชำนาญการงานติดตามประเมินผล

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 028721600 โทรศัพท์มือถือ : 0818321669

โทรสาร : 028721603 E-mail : Suwapat.a@niems.go.th

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. นางสินีนุช ชัยสิทธิ์ ผู้จัดการกลุ่มงานติดตามและประเมินผล

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 028721600 โทรศัพท์มือถือ : 0818191669

โทรสาร : 028721603 E-mail : sineenuch.c@niems.go.th

2. นายสุวภัทร อภิญญานนท์ ผู้ชำนาญการงานติดตามประเมินผล

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 028721600 โทรศัพท์มือถือ : 0818321669

โทรสาร : 028721603 E-mail : Suwapat.a@niems.go.th

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางสินีนุช ชัยสิทธิ์ ผู้จัดการกลุ่มงานติดตามและประเมินผล

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 028721600 โทรศัพท์มือถือ : 0818191669

โทรสาร : 028721603 E-mail : sineenuch.c@niems.go.th

2. นายสุวภัทร อภิญญานนท์ ผู้ชำนาญการงานติดตามประเมินผล

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 028721600 โทรศัพท์มือถือ : 0818321669

โทรสาร : 028721603 E-mail : Suwapat.a@niems.go.th

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base-
Areabase Kpi Regioncode-
หมายเหตุ
Last Update2021-12-17 11:53:14
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>