อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดอัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่040.1
Sort Order0
คำนิยาม

โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI หมายถึง กล้ามเนื้อหัวใจที่ขาดเลือดมาเลี้ยงจนเกิดการตายของกล้ามเนื้อ และมีคลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติชนิดเอสทียก
(ST-Elevated Myocardial Infarction)

อัตราตายในผู้ป่วย STEMI

1.ผู้ป่วย STEMI หมายถึง ผู้ป่วย STEMI ที่เป็นผู้ป่วยใน หรือผู้ป่วยมาตรวจที่แผนกฉุกเฉินและมีการส่งต่อไปยังโรงพยาบาลอื่นที่มีศักยภาพสูงกว่า (โดยนับการเจ็บป่วยในครั้งนั้นเป็น 1 visit)

2.การตายของผู้ป่วย STEMI หมายถึง การตายจากสาเหตุโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aจำนวนผู้ป่วยใน รหัส ICD10 -WHO – I21.0-I21.3 ที่เสียชีวิตในโรงพยาบาลทั้งหมด
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bจำนวนผู้ป่วยใน รหัส ICD10 -WHO – I21.0-I21.3 ที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator<
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 9
ประชากรกลุ่มเป้าหมายผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ได้แก่ - ผู้ป่วยใน รหัส ICD10 WHO I21.0-I21.3 ที่เสียชีวิตในโรงพยาบาล - ผู้ป่วยใน รหัส ICD10- WHO I21.0-I21.3 ที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลทั้งหมด
ค่าเป้าหมาย9.00
Max Value9.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

ข้อมูลจาก Thai ACS Registry และหรือดูที่ Health Data Center (HDC)

แหล่งข้อมูล

ข้อมูลจาก Thai ACS Registry และหรือดูที่ Health Data Center (HDC)

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลรายไตรมาส
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

13.39

ร้อยละ

9.84

8.85

10.45

 
 
เกณฑ์การประเมินผล

 

เกณฑ์การประเมิน

ปี2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

< ร้อยละ 9

< ร้อยละ 9

< ร้อยละ 9

< ร้อยละ 9

 

 

 

ปี 2565:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

< ร้อยละ 8

< ร้อยละ 8

< ร้อยละ 8

< ร้อยละ 8

 

 

 

ปี 2566:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

< ร้อยละ 8

< ร้อยละ 8

< ร้อยละ 8

< ร้อยละ 8

 

วิธีการประเมินผล

รายงานจากการลงข้อมูล Thai ACS Registry หรือข้อมูลจาก HDC

เอกสารสนับสนุน

- Thai ACS Registry

- Thai Acute Coronary Syndrome Guideline 2020

- IBANEZ, Borja, et al. 2017 ESC Guidelines for the management of acute myocardial infarction in patients presenting with ST-segment elevation: The Task Force for the management of acute myocardial infarction in patients presenting with ST-segment elevation of the European Society
of Cardiology (ESC). European heart journal, 2017, 39.2: 119-177.

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

 

1. พญ.อรวรรณ อนุไพรวรรณ                 นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2591 9972           โทรศัพท์มือถือ : 08 1845 9395

โทรสาร : 0 2591 9972                     E-mail : dr.orawan.tuk@gmail.com

สถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. ระบบ Thai ACS Registry โดยสถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์

2. กองตรวจราชการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

3. กลุ่มงานนิเทศระบบการแพทย์ สำนักนิเทศระบบการแพทย์ กรมการแพทย์

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6358 - 59     โทรสาร : 02 965 9851

E-mail : supervision.dms@gmail.com

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. พญ.อรวรรณ อนุไพรวรรณ                 นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2591 9972            โทรศัพท์มือถือ : 08 1845 9395

โทรสาร : 0 2591 9972                      E-mail : dr.orawan.tuk@gmail.com

สถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์

2. นายปวิช อภิปาลกุล                       นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6350          โทรศัพท์มือถือ : 09 8546 3564

โทรสาร : 0 2591 8279                     E-mail: eva634752@gmail.com

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมการแพทย์

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2022-01-26 14:42:32
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>