ร้อยละการบรรเทาอาการปวดและจัดการอาการต่าง ๆ ด้วย Opioid ในผู้ป่วยประคับประคองอย่างมีคุณภาพ

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละการบรรเทาอาการปวดและจัดการอาการต่าง ๆ ด้วย Opioid ในผู้ป่วยประคับประคองอย่างมีคุณภาพ
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่034
Sort Order0
คำนิยาม

ร้อยละการบรรเทาอาการปวดและจัดการอาการต่างๆ ด้วย Opioid ในผู้ป่วยประคับประคองระยะท้ายอย่างมีคุณภาพคือ โรงพยาบาลมีการจัดการอาการปวดและ/หรือ อาการรบกวนในระยะท้ายของชีวิต เช่น อาการหอบเหนื่อย สับสน ด้วย Opioid ร่วมกับยาและการจัดการอาการต่าง ๆในผู้ป่วยประคับประคองระยะท้ายทุกกลุ่มวัย ทั้งกรณีผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอก และเยี่ยมบ้าน เพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีจนถึงวาระสุดท้าย
โรงพยาบาลต้องดําเนินการที่แสดงถึงคุณภาพการบริการ ดังนี้

1. มีบุคลากรทสี่ ามารถสั่งใช้ยา จ่ายยา และบริหารยา Opioid ในการจัดการอาการปวด และ/หรือ อาการรบกวน ดังนี้

1.1. โรงพยาบาลระดับ A, S มีแพทย์ที่มีความรู้ด้าน PC ปฏิบัติงาน full time อย่างน้อย 1 คน (หรือ เท่ากับ 1 FTE) โรงพยาบาลระดับ M,F มีแพทย์ที่มีความรู้

ด้าน PC ปฏิบัติงาน part time อย่างน้อย 1 คน

1.2. โรงพยาบาลระดับ A, S มีพยาบาล PC ปฏิบัติงาน full time อย่างน้อย 2 คน โรงพยาบาลระดับ M,F มีพยาบาล PC ปฏิบัติงาน part time อย่างน้อย 1 คน

1.3. โรงพยาบาลทกุ ระดบั  มีเภสัชกรร่วมทีมดูแลผู้ป่วย PC อย่างน้อย 1 คน

1.4. โรงพยาบาลทกุ ระดบั มีการกำหนดโครงสร้างการบริหารบุคลากรงาน PC ในรูปแบบคณะกรรมการ ศูนย์งาน หรือกลุ่มงาน ที่สามารถดำเนินการได้คล่องตัว

2. มีการวินจิ ฉัยเมื่อผู้ป่วยเข้าสู่ระยะประคับประคอง (ICD-10 Z51.5) ตามกลุ่มโรคที่องค์การอนามัยโลกให้ความสำคัญ โดยใช้แนวทางการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองระยะท้าย กรมการแพทย์ ดังนี้

  1. กลุ่มโรคมะเร็งระยะแพร่กระจาย ICD-10 รหัส C00-C96 หรือ D37-D48
  2. กลุ่มโรคระบบประสาท (Neurological Disease) หลอดเลือดสมองแตก/ ตีบ (Stroke) ICD-10 รหัส I60-I69 และ (Dementia) ICD-10 รหัส F03

2.3 โรคไตในกลุ่มที่มีภาวะไตวายเรื้อรัง ICD 10 รหัส N18.5

2.4 โรคถุงลมโป่งพอง (COPD) ICD-10 รหัส J44

2.5 ภาวะหัวใจล้มเหลว (Congestive Heart Failure) ICD-10 รหัส I50

2.6 ภาวะตับล้มเหลว Hepatic failure รหัส K72 หรือ alcoholic hepatic failure (K70.4) หรือ hepatic failure with toxic liver disease (K71.7)

2.7 ภาวะเอดส์เต็มขั้น (Full-Blown AIDS/ Progression of AIDS) รหัส B20-B24 ยกเว้น B23.0, B23.1

2.8 ผู้ป่วยเด็ก (อายุ 0-14 ปี) ประคับประคองระยะท้าย

2.9 ผู้สูงอายุ (อายุ > 60 ปี) ที่เจ็บป่วยใน 7 กลุ่มโรคตามข้อ 2.1-2.7 และภาวะพึ่งพิง ICD-10 รหัส R54 เข้าสู่ระยะประคับประคอง

3. มีรายการยา Long acting Opioid ชนิดรับประทาน และดูดซึมผ่านผิวหนัง ในบัญชียาของโรงพยาบาล และพร้อมดำเนินการสั่งซื้อยาจาก อย ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์

เมื่อมีผู้ป่วย พัฒนาศักยภาพและขึ้นทะเบียนหน่วยบริการประจำให้สามารถรับค่าชดเชยยามอร์ฟีนสำหรับผู้ป่วยมะเร็งระยะประคับประคองตามแนวทางที่ สปสช กำหนด

4. มีการทํา Advance Care Planning (ACP) เป็นลายลักษณ์อักษร ด้วยกระบวนการ Family Meeting และมีการใช้แนวทางการปฏิบัติงานของผู้ประกอบวิชาชีพ

ด้านสาธารณสุข และเจ้าหน้าที่ของสถานบริการสาธารณสุข เรื่อง หนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้าย

ของชีวิต (มาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550) และบันทึกรหัส ICD-10 Z71.8 ในเวชระเบียน (HIS) ส่งเข้า HDC และบันทึกในระบบ E-claim (ติดตามผลการดำเนินการจาก HDC เกณฑ์ร้อยละ 60)

5. มีการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองระยะท้ายต่อเนื่องที่บ้าน และบันทึกรหัสการเยี่ยมบ้าน (1AXXX) ในเวชระเบียน (HIS) ส่งเข้า HDC ในแฟ้ม community service และบันทึกในระบบ E-claim (ติดตามผลการดำเนินการจาก HDC เกณฑ์ร้อยละ 50)

*เมื่อดำเนินการตามข้อ 4-5 หน่วยบริการประจำมีสิทธิ์ได้รับค่าชดเชยการบริการ

แบบประคับประคองตามระยะเวลาก่อนเสียชีวิตตามแนวทางที่ สปสช กำหนด  

6. มีเครือข่ายบูรณาการการดูแลประคับประคองเพื่อการบริหารคลังอุปกรณ์การแพทย์ และร่วมกับหน่วยงานราชการ หรือภาคประชาสังคม หรืออาสาสมัครดูแลผู้ป่วย

เพื่อการจัดการอุปกรณ์และการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน

7. มีการจัดบริการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกในการดูแลประคับประคอง

โดยมีการบันทึกหัตถการการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคด้วยแพทย์แผนไทย

ICD-10TM รหัส U778-779, แพทย์แผนจีน รหัส U78-79 (ติดตามผลการดำเนินการจาก HDC โดยกรมการแพทย์แผนไทย)

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aราย
นิยามของค่า Aจำนวนผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกในกลุ่มโรคที่กำหนด ที่ได้รับการวินิจฉัยระยะประคับประคอง (Z51.5) และ ได้รับการรักษาด้วย Opioid ดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลการจ่ายยา Opioid ของผู้ป่วยใน และผู้ป่วยนอก หรือข้อมูลจากศูนย์ PC เฉพาะรายใหม่ของปีงบประมาณ ไม่นับรายครั้ง/ซ้ำ รายการยา Opioid ที่องค์การอนามัยโลกติดตามข้อมูลของประเทศสมาชิก และรหัสยา 24 หลัก (หลักที่ 1-11 แสดงชื่อสามัญ) CODEINE PHOSPHATE (10223023200), METHADONE (10223200000), MORPHINE (10223300000), MORPHINE SULFATE (10223328000 tablet, injection), FENTANYL (18001600100), METHADONE SYRUP(30223200000), MORPHINE SYRUP (30223300000), MORPHINE SULFATE SYRUP (30223328000) และ ยา Oxycodone/OXYCONTIN เป็นยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ ยังไม่มีรหัสยา 24 หลัก
หน่วยของค่า Bราย
นิยามของค่า Bจำนวนผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกในกลุ่มโรคที่กำหนด ที่ได้รับการวินิจฉัยระยะประคับประคอง (Z51.5) ดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลการวินิจฉัยโรคของโรงพยาบาล ตาม ICD 10 ที่กำหนดตาม service plan ที่เกี่ยวข้อง คือ (ICD-10 C00-C96, D37-D48, I60-I69, F03, N18.5, J44, I50, K72, K70.4, K71.7, B20-B24 (ยกเว้น B23.0, B23.1), ผู้ป่วยอายุ0-14ปี (ที่วินิจฉัย Z515 ร่วมด้วย), ผู้สูงอายุ (อายุ > 60 ปี) ที่เจ็บป่วยใน 7 กลุ่มโรค และ R54 เข้าสู่ระยะประคับประคอง) เฉพาะรายใหม่ของปีงบประมาณ ไม่นับรายครั้ง/ซ้ำ
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 40
ประชากรกลุ่มเป้าหมายโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ ร่วมพัฒนาการดูแลในรูปแบบเครือข่ายระดับ อำเภอ จังหวัด และเขตสุขภาพ
ค่าเป้าหมาย40.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

เก็บข้อมูลและรายงานผล ระดับอำเภอ จังหวัด และเขตสุขภาพ จากระบบ Health data center โดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ปัจจัยที่ส่งผลต่อตัวชี้วัด คือ กำกับดูแลการกรอกข้อมูล
ในเวชระเบียนของโรงพยาบาลให้ถูกต้องตามรหัสมาตรฐาน และนำส่งข้อมูลแฟ้มการวินิจฉัยโรค แฟ้มยา และแฟ้มการติดตามเยี่ยมบ้าน ใน 43 แฟ้ม ให้ครบถ้วน

แหล่งข้อมูล

Health data center (https://hdcservice.moph.go.th) รายงานมาตรฐาน
ข้อมูลตอบสนอง service plan สาขา Intermediate และ palliative care ร้อยละการบรรเทาอาการปวดและจัดการอาการต่าง ๆ ด้วย Opioid ในผู้ป่วยประคับประคองระยะท้ายในโรงพยาบาล (workload)

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญใช่
ตัวชี้วัด Area Baseใช่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1-4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ

2561

2562

2563

-

ร้อยละ

4 กลุ่มโรค

19.66 (HDC)

55.32

(ระบบรายงาน)

4 กลุ่มโรค

33.61 (HDC)

53.53

(ระบบรายงาน)

4 กลุ่มโรค

33.69

(HDC)

 
เกณฑ์การประเมินผล

 

ปี2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

 >=ร้อยละ 40

>=ร้อยละ 40

>=ร้อยละ 40

 

 

 

 

ปี 2565:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

>=ร้อยละ 45

>=ร้อยละ 45

>=ร้อยละ 45

 

 

 

 

ปี 2566:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

>=ร้อยละ 45

>=ร้อยละ 45

>=ร้อยละ 45

 

วิธีการประเมินผล

1. การตรวจราชการ โดยทีมตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข และกรมการแพทย์

2. การติดตามผ่านอนุกรรมการระบบบริการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคอง กระทรวงสาธารณสุข

3. การติดตามโดยคณะกรรมการ service plan การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองเขตสุขภาพ และจังหวัด

4. การติดตามรายการยา Opioid โดยกองบริหารระบบสาธารณสุข

5. การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล สรพ provincial network certification

เอกสารสนับสนุน

1. คำแนะนำแนวทางการบริหารจัดการระบบยาในการดูแลผู้ป่วยประคับประคองของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (http://dmsic.moph.go.th/dmsic/
force_down.php?f_id=778 )

2. คู่มือการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและระยะท้าย (สำหรับบุคลากรทางการแพทย์) กรมการแพทย์ https://qrgo.page.link/5fsEi

4. NCCN Clinical Practice Guidelines in Oncology (NCCN Guidelines): Palliative Care Version 1.2016

ที่ https://www.nccn.org/professionals/physician_gls/pdf/palliative.pdf

5. แนวทางการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองสาหรับพยาบาลทั่วไป: Clinical nursing practice guidelines for stroke. สถาบันประสาทวิทยา.พ.ศ.2558

ที่ http://pni.go.th/pnigoth/wpcontent/uploads//2009/03

6.  A Guide to Children’s Palliative Care (Fourth Edition). International Children’s Palliative Care Network and the Royal College of Paediatrics and Child Health (RPCH), 2018.

ที่  https://www.togetherforshortlives.org.uk/wp-content/uploads/2018/03/
TfSL-A-Guide-to-Children’s-Palliative-Care-Fourth-Edition-5.pdf

7. Palliative care guideline, self-assessment workbook ศูนย์การุณรักษ์ และกรมการแพทย์

8.  World Health Organization. (1986). Cancer pain relief. Geneva: World Health Organization. http://apps.who.int/iris/bitstream/handle/10665/43944/9241561009_eng.pdf

9.  World Health Organization Essential Medicines in Palliative Care http://www.who.int/selection_medicines/committees/expert/19/applications/PalliativeCare_8_A_R.pdf

 

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. พญ.ชลศณีย์ คล้ายทอง                   นายแพทย์เชี่ยวชาญ

โทรศัพท์มือถือ : 081-861-3078           E-mail: chonsanee@gmail.com

โรงพยาบาลมหาวชิราลงกรณ ธัญบุรี กรมการแพทย์

2. พญ. เดือนเพ็ญ ห่อรัตนาเรือง             นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 1415 ต่อ 2413         โทรศัพท์มือถือ : 089-4223466

โทรสาร : 0 2245 7580                     E-mail:  noiduenpen@yahoo.com

สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กรมการแพทย์

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. สำนักตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข

3. กลุ่มงานนิเทศระบบการแพทย์ สำนักนิเทศระบบการแพทย์ กรมการแพทย์

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6358 - 59     โทรสาร : 02 965 9851

E-mail : supervision.dms@gmail.com

4. โรงพยาบาลมหาวชิราลงกรณ ธัญบุรี กรมการแพทย์

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. พญ.ชลศณีย์ คล้ายทอง                   นายแพทย์เชี่ยวชาญ

โทรศัพท์มือถือ : 081-861-3078           E-mail: chonsanee@gmail.com

โรงพยาบาลมหาวชิราลงกรณ ธัญบุรี กรมการแพทย์

 

2. พญ. เดือนเพ็ญ ห่อรัตนาเรือง             นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 1415 ต่อ 2413         โทรศัพท์มือถือ : 089-4223466

โทรสาร : 0 2245 7580                     E-mail:  noiduenpen@yahoo.com

สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กรมการแพทย์

3. นายปวิช อภิปาลกุล                       นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 6350          โทรศัพท์มือถือ : 09 8546 3564

โทรสาร : 0 2591 8279                     E-mail: eva634752@gmail.com

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมการแพทย์

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base-
Areabase Kpi Regioncode-
หมายเหตุ
Last Update2022-06-03 21:58:20
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>