ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่016
Sort Order0
คำนิยาม

ผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยง หมายถึง

  1. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรืออาหารกลุ่มเป้าหมาย หมายถึง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ที่ขออนุญาตไว้ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 293) พ.ศ.2548 เรื่อง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และอาหารกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ อาหารกลุ่มกาแฟ หรือเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทที่ผลการตรวจวิเคราะห์ในปี 2561-2563 พบการปลอมปนสารที่มีฤทธิ์ในการลดน้ำหนักหรือเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ (Blacklist) และผลิต นำเข้า หรือจัดจำหน่าย โดยสถานประกอบการ หรือ ผู้ดำเนินกิจการของสถานประกอบการกลุ่มเป้าหมาย
  2. ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางกลุ่มเสี่ยง หมายถึง เครื่องสำอางที่จดแจ้งวัตถุประสงค์ในการใช้เป็นผลิตภัณฑ์ในประเภทแอลกอฮอล์เพื่อสุขอนามัยสำหรับมือ
หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aผลิตภัณฑ์
นิยามของค่า A จำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรืออาหารกลุ่มเป้าหมาย ที่พบสารที่มีฤทธิ์ในการลดน้ำหนักหรือเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ และ เครื่องสำอาง (แอลกอฮอล์เพื่อสุขอนามัยสำหรับมือ) ที่ได้รับการตรวจสอบทางห้องปฏิบัติการมีมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
หน่วยของค่า Bผลิตภัณฑ์
นิยามของค่า Bจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรืออาหารกลุ่มเป้าหมาย ที่พบสารที่มีฤทธิ์ในการลดน้ำหนักหรือเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ และ เครื่องสำอาง (แอลกอฮอล์เพื่อสุขอนามัยสำหรับมือ) ที่ได้รับผลวิเคราะห์จากห้องปฏิบัติการทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 80
ประชากรกลุ่มเป้าหมายทั่วประเทศ จำแนกเป็นตัวอย่างผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ดำเนินการโดยส่วนกลางและ ส่วนภูมิภาค
ค่าเป้าหมาย80.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

อย.นำผลการตรวจสอบทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเข้าระบบ Dashboard

ของกระทรวงสาธารณสุข โดยรายงานทุกไตรมาส

แหล่งข้อมูล

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญใช่
ตัวชี้วัด Area Baseใช่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผล4 ครั้ง/ปี รายงานทุกวันที่ 20 ของเดือนธันวาคม, มีนาคม, มิถุนายน, กันยายน
ข้อมูล Baseline

 

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

(9 เดือน)

ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยง        ที่ได้รับการตรวจสอบ     ได้มาตรฐานตามเกณฑ์

ที่กำหนด

ร้อยละ

-

86.43

87.55

หมายเหตุ: ปี 2560 – 2561 ไม่ได้ถูกกำหนดเป็นตัวชี้วัดภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)

เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2562 - 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

การตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยง

ผลตามตัวชี้วัด

  • รอผล

กิจกรรม

  • เก็บตัวอย่างตามแผนเก็บตัวอย่าง ประเภท Risk-based จำนวน 525 ตัวอย่าง

ผลตามตัวชี้วัด

  • ร้อยละ 80

กิจกรรม

  • เก็บตัวอย่างตามแผนเก็บตัวอย่างฯ ประเภท Risk-based จำนวน 1,084 ตัวอย่าง (ไม่สะสม)

ผลตามตัวชี้วัด

  • ร้อยละ 80

กิจกรรม

เก็บตัวอย่างตามแผนเก็บตัวอย่างฯ ประเภท Risk-based จำนวน  900 ตัวอย่าง (ไม่สะสม)

ผลตามตัวชี้วัด

  • ร้อยละ 80

 

 
วิธีการประเมินผล

จังหวัด :

ที่

ตัวชี้วัด

วิธีการประเมิน

หน่วยงานรับผิดชอบ

1

ร้อยละของเหตุการณ์ (Event) การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่จังหวัดสามารถควบคุมให้สงบได้ภายใน 21 - 28 วัน

ตรวจสอบจำนวนจังหวัดที่เกิดเหตุการณ์ (Event) การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และจำนวนจังหวัดที่สามารถควบคุมเหตุการณ์ (Event) การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้สงบได้ภายใน 21-28 วัน จากฐานข้อมูล DDC COVID-19 กรมควบคุมโรค

- สสจ.

- สำนักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.)/สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง (สปคม.)

 

ประเทศ :

ที่

ตัวชี้วัด

วิธีการประเมิน

หน่วยงานรับผิดชอบ

1

จำนวนจังหวัดที่สามารถควบคุมเหตุการณ์ (Event) การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)  ให้สงบได้ ภายใน 21 – 28 วัน

 

ตรวจสอบจำนวนจังหวัดที่เกิดเหตุการณ์ (Event) การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019  และจำนวนจังหวัดสามารถควบคุมเหตุการณ์ (Event) การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้สงบได้ภายใน 21-28 วัน จากฐานข้อมูล DDC COVID-19 กรมควบคุมโรค

กองระบาดวิทยา

กรม คร.

หมายเหตุ : จังหวัดไม่พบเหตุการณ์ (Event) การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้ถือว่าสามารถดำเนินการตามมาตรการป้องกันควบคุมโรคได้ดี ทำให้ไม่เกิดเหตุการณ์การระบาดภายในจังหวัด การประเมินให้ได้คะแนนระดับ 5 คะแนน

 

เอกสารสนับสนุน
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

กรมควบคุมโรค

1. แพทย์หญิงวลัยรัตน์  ไชยฟู                ผู้อำนวยการกองระบาดวิทยา

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3800        โทรศัพท์มือถือ : 081 716 8365

   โทรสาร : 0 2590 3845                  E-mail : -

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กรมควบคุมโรค

1. นางสาวกีรติกานต์ กลัดสวัสดิ์             กองระบาดวิทยา

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3803       โทรศัพท์มือถือ : 081 698 9866

    โทรสาร : 0 2590 3845                 E-mail : k.kiratikarn@gmail.com

2. นางภัคนี สิริปูชกะ                         กองยุทธศาสตร์และแผนงาน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3084       โทรศัพท์มือถือ : 081 343 0544

    โทรสาร : 0 2965 9588                  E-mail : puckanee@gmail.com

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

กรมควบคุมโรค

1. แพทย์หญิงวลัยรัตน์  ไชยฟู                ผู้อำนวยการกองระบาดวิทยา

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3800       โทรศัพท์มือถือ : 081 716 8365

2. นางสาวกีรติกานต์ กลัดสวัสดิ์             กองระบาดวิทยา

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3803       โทรศัพท์มือถือ : 081 698 9866

    โทรสาร : 0 2590 3845                 E-mail : k.kiratikarn@gmail.com

3. ผู้อำนวยการ                                  กองยุทธศาสตร์และแผนงาน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3084       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 0 2965 9588                  E-mail :

4. หัวหน้ากลุ่มติดตามและประเมินผล       กองยุทธศาสตร์และแผนงาน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3257       โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร : 0 2965 9588                  E-mail : evaluation.m@ddc.mail.go.th

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base-
Areabase Kpi Regioncode-
หมายเหตุ

การบันทึกค่า A จำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบทางห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด

  • ให้บันทึกจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบทางห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด เฉพาะไตรมาสนั้นๆ ไม่นับรวมไตรมาสก่อนหน้า

การบันทึกค่า B จำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับผลวิเคราะห์จากห้องปฏิบัติการทั้งหมด

  • ให้บันทึกจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับผลวิเคราะห์จากห้องปฏิบัติการทั้งหมด เฉพาะไตรมาสนั้นๆ ไม่นับรวมไตรมาสก่อนหน้า

การบันทึกค่า C จำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ตรวจสอบโดยชุดทดสอบเบื้องต้นที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด

  • ให้บันทึกจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ตรวจสอบโดยชุดทดสอบเบื้องต้นที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด เฉพาะไตรมาสนั้นๆ ไม่นับรวมไตรมาสก่อนหน้า

การบันทึกค่า D จำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับผลจากชุดทดสอบเบื้องต้นทั้งหมด

  • ให้บันทึกจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับผลจากชุดทดสอบเบื้องต้นทั้งหมด เฉพาะไตรมาสนั้นๆ ไม่นับรวมไตรมาสก่อนหน้า
Last Update2021-10-14 09:12:38
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>