จำนวนครอบครัวมีความรอบรู้สุขภาพ

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดจำนวนครอบครัวมีความรอบรู้สุขภาพ
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่009
Sort Order0
คำนิยาม
  1. การดำเนินการครอบครัวมีความรอบรู้สุขภาพ สำหรับปี 2564 ทำในขอบเขตของนโยบายกระทรวงสาธารณสุข “สุขภาพดีวิถีใหม่ 3อ.”
  2. ความรอบรู้ด้านสุขภาพ หมายถึง Digital Health literacy ซึ่งเป็นการบริหารจัดการความรอบรู้ด้านสุขภาพ ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล โดยบุคคลรอบรู้หมายถึงบุคคลจะต้องมี 3 องค์ประกอบ ดังนี้

2.1 เข้าถึง ด้วยการ register เข้าสู่ Health book online เพื่อเข้าถึงองค์ความรู้ที่กระทรวงสาธารณสุขได้จัดการความรู้ไว้เป็นอย่างดีแล้ว

2.2 เข้าใจ ด้วยการ screening & assessment จากเครื่องมือคัดกรองและแปรผลในระบบออนไลน์ เช่น BMI, CVD risk score, BSE, H4U, แบบประเมินความเครียด ฯลฯ

2.3 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยใช้เครื่องมือ Adjust Behavior บนออนไลน์ เช่น การออกกำลังกายด้วยก้าวท้าใจ การควบคุมแคลลอรี่ด้วยโปรแกรมประเมินอาหาร การลดความเครียดโดยเครื่องมือของกรมสุขภาพจิต

  1.  คนรอบรู้ = register + screening & assessment + Adjust Behavior
  2. ครอบครัว  หมายถึง 1 คนรอบรู้ ที่เป็นตัวแทนครอบครัวโดยกรมอนามัยจะบริหารจัดการข้อมูลบุคคลที่สมัครให้เป็นจำนวนครอบครัว โดยการคำนวณค่า K ที่เกิดจากบุคคลนั้นอยู่ในครอบครัวเดียวกัน (ตัวอย่าง 1 คนที่สมัคร = 0.67 ครอบครัว)
  3. ผู้ลงทะเบียน  หมายถึง ตัวแทนของครอบครัวซึ่งทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลและดำเนินการกรอกข้อมูลเข้าสู่ระบบลงทะเบียนระบบ Application ก้าวท้าใจ โดยเชื่อมplatform health book ไว้แล้ว ภายใน platform health book ยังประกอบด้วยApplication 10 Packages(โปรแกรมการตรวจสุขภาพ), Application BSE, Application H4U สาวไทยแก้มแดง ไอโอดีน ฯลฯ
  4. บัญชี หมายถึง ข้อมูลการลงทะเบียนผ่านระบบ Application ก้าวท้าใจ (ในขณะนี้ให้ใช้ season 2 ซึ่งจะมีเฉพาะการสมัคร การคัดกรองและปรับพฤติกรรมด้วยการออกกำลังกายและหลังจาก 15 กุมภาพันธ์ 2564 จะโอนข้อมูลไปสู่ season 3 ซึ่งจะมีครบทั้ง 3อ.)
หน่วยตัวชี้วัดจำนวน
หน่วยของค่า Aครอบครัว
นิยามของค่า Aจำนวนครอบครัวที่ลงทะเบียน
หน่วยของค่า B
นิยามของค่า B
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัดA
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมาย5,000,000 ครอบครัว
ประชากรกลุ่มเป้าหมายประชากรไทยทุกคน โดยตั้งค่าเป้าหมายปี 2564 จำนวน 5 ล้านครอบครัว เป็นจำนวนคนประมาณ 7.5 ล้านคน โดยเน้น 3 setting ต่อไปนี้ 1 ผู้ประกันตนในสถานประกอบการ 2 ประชาชนในชุมชนเมืองหรือชนบทผ่านการสมัครโดยตรงหรือ อสม. 3 นักเรียน/นักศึกษาในสถานศึกษา
ค่าเป้าหมาย5000000.00
Max Value-
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

การดำเนินการ

1. การรับสมัครให้เข้ามา register ก้าวท้าใจทั้ง 2 seasons ซึ่งจะมีการเก็บข้อมูล           โดยอัตโนมัติ และหลังวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2564 จะเริ่มเปลี่ยนเป็น ก้าวท้าใจ season 3      โดยมี setting  ดังต่อไปนี้

   1.1 ชุมชน ดำเนินการผ่าน อสม รพ.สต. หรือโรงพยาบาล เชิญชวนประชาชนเข้าสมัคร platform รอบรู้สุขภาพผ่านแอพก้าวท้าใจ

   1.2 โรงงาน/สถานประกอบการ รพ.สต. หรือโรงพยาบาลประสานงานกับสำนักงานประกันสังคมจังหวัดหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการดำเนินงานตามบันทึกข้อตกลง (MOU) 7 หน่วยงาน ที่ร่วมดำเนินการ 10 packages โดยมีรูปแบบการดำเนินงานในสถานประกอบการ ดังต่อไปนี้

- การจัดกิจกรรม kick off ระดับจังหวัด โดยศูนย์อนามัยและ สสจ บูรณาการรวมกับ     แผนของสำนักงานประกันสังคมจังหวัด เพื่อเป็นต้นแบบให้ สสอ ทุกอำเภอได้ศึกษานำไปขยายต่อในทุกอำเภอต่อไป

- กรมอนามัยสนับสนุนรายการต่อไปนี้ที่สามารถดาวน์โหลดในระบบออนไลน์ ประกอบด้วย แบบหนังสือแจ้งผู้ประกอบการที่ลงนามโดยหน่วยงานในพื้นที่ แบบโปสเตอร์สมัครสถานประกอบการส่งเสริมสุขภาพขั้นพื้นฐาน และใบรับรองสถานประกอบการส่งเสริมสุขภาพ โดยแบ่งระดับดังนี้

          - ใบรับรองสถานประกอบการส่งเสริมสุขภาพพื้นฐาน หมายถึง เจ้าของสถานประกอบการหรือแกนนำสุขภาพในสถานประกอบการ เชิญชวนสมาชิกสมัครใน Application ก้าวท้าใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ดำเนินการตามแพคเกตบนระบบออนไลน์

          - ใบรับรองสถานประกอบการส่งเสริมสุขภาพมาตรฐาน หมายถึง ผ่านมาตรฐานสถานประกอบการส่งเสริมสุขภาพพื้นฐาน และได้ดำเนินงานการ 10 packages อย่างน้อย  3 packages

          - ใบรับรองสถานประกอบการส่งเสริมสุขภาพดีเด่น หมายถึง ผ่านสถานประกอบการส่งเสริมสุขภาพมาตรฐาน และมีการขยายเครือข่าย

   1.3 โรงเรียน ประสานผ่านครูอนามัย งานอนามัยโรงเรียน

   ทั้งนี้สามารถใช้ข้อมูล Dash board เพื่อรายงานการลงทะเบียนรายหน่วยงานได้ เพราะในการลงทะเบียนสามารถระบุกลุ่มโรงเรียน สถานประกอบการได้ โดยเชิญชวนให้สมัครและเข้าถึงความรอบรู้ในแอพก้าวท้าใจ

            การลงทะเบียนสร้างเสริมความรอบรู้ดีวิถีใหม่ 3อ. ข้อมูลจะถูกจัดเก็บอัตโนมัติใน Application ก้าวท้าใจ และกรมอนามัยจะประมวลผลเพื่อจัดทำเป็น Dash board        โดยสามารถระบุได้ตามศูนย์อนามัยเขต รายจังหวัดและรายอำเภอ  มีขั้นตอนการใช้ Application ดังนี้

 

Application ก้าวท้าใจ (โครงการ 10 ล้านครอบครัวไทย ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเฉลิมพระเกียรติ) ขั้นตอนดังนี้ เข้าลงสมัครใน Application Line ก้าวท้าใจ

ติดต่อ/ประสานงานการใช้งาน Application ก้าวท้าใจ

ชื่อ-นามสกุล : น.ส.สุพิชชา วงค์จันทร์              กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ

                  โทรศัพท์ที่ทำงาน -                  โทรศัพท์มือถือ 08 9459 4451

 

Application 10 Packages ประกอบด้วย 3 โปรแกรม ดังนี้

     โปรแกรมการคัดกรองข้อมูลสุขภาพ ขั้นตอนดังนี้

เข้า doh.hpc.go.th/screen/index.php

สมัครสมาชิกหัวข้อ “login”

เข้าสู่ระบบด้วย Username และ Password ที่ตั้งไว้เพื่อเข้าสู่ระบบ

     โปรแกรมการกรอกข้อมูลสุขภาพ ขั้นตอนดังนี้

เข้า http://apps.hpc.go.th/checkup

สมัครสมาชิกหัวข้อ “สถานประกอบการสมัครสมาชิก”

เข้าสู่ระบบด้วย Username และ Password ที่ตั้งไว้ในหัวข้อ “เข้าสู่ระบบสถานประกอบการ”

เข้าสู่หัวข้อ “ตรวจสุขภาพ” แล้วเลือกหัวข้อ “ลงทะเบียนบุคคล”

กรอกข้อมูลตามแบบฟอร์มแล้วบันทึกข้อมูล

หมายเหตุ สามารถจัดการข้อมูลรายละเอียดได้ตามหัวข้อ ดู, แบ่งปัน, แก้ไข, ลบข้อมูล

     โปรแกรมเฝ้าระวังสุขภาพตนเอง (Self-monitoring) ขั้นตอนดังนี้

1.เข้า hpc.go.th/hpd/hp/diet/index.php

2.สมัครสมาชิกหัวข้อ “สมัครสมาชิก”

3.เข้าสู่ระบบด้วย Username และ Password ที่ตั้งไว้ในหัวข้อ “Login เข้าสู่ระบบ”

4.เข้าสู่ระบบเพื่อเข้าใช้โปรแกรม

โปรแกรม Thai Fit Stop Fat ขั้นตอนดังนี้

1.เข้าโปรแกรม Line ค้นหาเพื่อนโดยพิมพ์ @thaifitstopfat

2.คลิกปุ่มลงทะเบียน

3.กรอกข้อมูลทั่วไป

4.บันทึกข้อมูลน้ำหนัก ส่วนสูง รอบเอว ทุกสัปดาห์

5.กดปุ่มประวัติการบันทึกเพื่อดูข้อมูลการวิเคราะห์เบื้องต้น

6.หรือแสกน QR Code เข้าโปรแกรม

ติดต่อ/ประสานงานการใช้งาน Application 10 Packages

ชื่อ-นามสกุล : นางสาวกมลนิตย์  มาลัย            สำนักส่งเสริมสุขภาพ

                  โทรศัพท์ที่ทำงาน 0 2590 4521  โทรศัพท์มือถือ 08 7074 8549

Application BSE การบันทึกการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (สำหรับสตรีอายุ 20 ปีขึ้นไป)

ขั้นตอนดังนี้

1.เข้า http://doh.hpc.go.th/bseApp/

2.เข้าหัวข้อที่ 1 ขั้นตอนในการใช้โปรแกรม มีหัวข้อให้เลือกตามสถานะดังนี้

     1 ตรวจสอบรายชื่อว่าอยู่ในฐานข้อมูลหรือไม่

     2 ถ้าไม่พบ ให้ทำการลงทะเบียนสมัครสมาชิกใหม่

     3 Login เข้าระบบ

       1. Username = “เลข 13 หลัก” หรือจะใช้ “ชื่อ นามสกุล” ก็ได้

       2. Password = วันเดือนปีเกิด เช่น

เกิดวันที่ 1 ก.พ. 2512 = 01022512 หรือจะใช้เบอร์โทรศัพท์ก็ได้ (กรณีที่ได้เพิ่มเบอร์โทรศัพท์เข้าไปแล้ว)

   4 ทำรายการตรวจเต้านมประจำเดือน

     5 ดูบันทึกการตรวจเต้านม

3.   หรือเข้า QR Code เพื่อเข้าสู่ขั้นตอนการสมัคร

                                        

ติดต่อ/ประสานงานการใช้งาน Application BSE

ชื่อ-นามสกุล : นางบังอร  สุภาเกตุ                  สำนักส่งเสริมสุขภาพ

                  โทรศัพท์ที่ทำงาน 0 2590 4519  โทรศัพท์มือถือ 08 5336 8281 

Application H4U (การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ ความรอบรู้และปัจจัยแวดล้อมที่ส่งผลต่อสุขภาพวัยทำงาน) ขั้นตอนดังนี้

1. ดาวน์โหลด Application H4U ได้ทั้งระบบ IOS และ Android หรือเข้า https://sl.moph.go.th/h-CtDT8

2.  เข้าสู่ Application H4U เลือกหัวข้อแบบสอบถามเพื่อเข้าสู่ข้อคำถามพฤติกรรมสุขภาพ ความรอบรู้และปัจจัยแวดล้อมที่ส่งผลต่อสุขภาพวัยทำงาน

ติดต่อ/ประสานงานการใช้งาน Application H4U

ชื่อ-นามสกุล : ทันตแพทย์หญิงนันท์มนัส  แย้มบุตร   สำนักทันตสาธารณสุข

                  โทรศัพท์ที่ทำงาน 0 2590 4215       โทรศัพท์มือถือ 08 1485 0402

Googleform สาวไทยแก้มแดง

1. แสกน QR Code

                                          

2. กรอกข้อมูลตามแบบสอบถาม

3. ยืนยันการส่งข้อมูล

ชื่อ-นามสกุล : นางสาวอารียา กรุดเงิน                 สำนักโภชนาการ

                  โทรศัพท์ที่ทำงาน 0 2590 4334      โทรศัพท์มือถือ 09 6661 3663

Application ดูแลจิตใจ Mental Health Check in

1. เข้า https://checkin.dmh.go.th/index.php

2. เลือกโปรแกรมที่ต้องการประเมิน

                                         

ชื่อ-นามสกุล : นายปองพล  ชุษณะโชติ      กองส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต

                  โทรศัพท์ที่ทำงาน -            โทรศัพท์มือถือ 08 9635 4828

แหล่งข้อมูล

การรายงานผลการลงทะเบียนในระบบฐานข้อมูลโครงการเสริมสร้างความรอบรู้วัยทำงานสุขภาพดีในสถานประกอบการ แต่ละ Application ดังนี้

Application ก้าวท้าใจ (โครงการ 10 ล้านครอบครัวไทย ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพเฉลิมพระเกียรติ) มีขั้นตอนดังนี้

1.เข้า https://activefam.anamai.moph.go.th/

2.เลือกหัวข้อที่ต้องการประเมินผล

Application 10 Packages (โปรแกรมการคัดกรองข้อมูลสุขภาพ โปรแกรมการกรอกข้อมูลสุขภาพ โปรแกรมเฝ้าระวังสุขภาพตนเอง (Self-monitoring) และโปรแกรม Thai Fit Stop Fat)

     อยู่ระหว่างการดำเนินการประสานขอ Username และ Password สำหรับ Admit เพื่อเข้าสู่ระบบประมวลผล

Application BSE การบันทึกการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (สำหรับเจ้าหน้าที่)

ขั้นตอนดังนี้

1.Log in ด้วยรหัสสถานพยาบาล

2.เปิดดูข้อมูล BSE ที่ผิดปกติของประชาชนในพื้นที่ในพื้นที่รับผิดชอบ

3.ติดตามเพื่อให้มาตรวจยืนยัน

4.ถ้า CBE แล้วผิดปกติ ส่งต่อ

5.ใส่ผลการดำเนินงานผ่าน Application มาได้

** สามารถดู

    1.รายชื่อผู้ทำรายการผ่าน BSE Application ได้

    2.สรุป BSE รายเขต/จังหวัด/อำเภอ/ตำบลได้

6.หรือเข้า QR Code เข้าสู่ขั้นตอนการประมวลผลจำนวนคนที่ตรวจเต้านมด้วยตนเองผ่าน Application

                                       

Application H4U

      สำนักทันตกรรมสาธารณสุขจะดำเนินการรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล

Googleform สาวไทยแก้มแดง

      สำนักโภชนาการจะดำเนินการรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล

Application ดูแลจิตใจ Mental Health Check in

      กองส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิตจะดำเนินการรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล

หมายเหตุ รวบรวมผลการดำเนินการแต่ละ Application ก่อนนำส่งข้อมูลไปยังศูนย์อนามัยเขตต่อไป

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผล1 ปี
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

-

ครอบครัว

 

-

-

-

 
เกณฑ์การประเมินผล

 

เกณฑ์การประเมิน :

ปี 2561:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

-

-

-

-

 

 

 

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

-

-

-

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

-

-

-

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1,250,000 ครอบครัว

2,500,000 ครอบครัว

3,750,000 ครอบครัว

5,000,000 ครอบครัว

 

 

 

ปี 2565:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

-

-

10,000,000 ครอบครัว

 

 

 

 

                                   เป้าหมายจำนวน 2564

ลำดับที่

ศูนย์อนามัยที่

จำนวนประชากร

เป้าหมายปี 2564 (คน)

1

ศูนย์อนามัยที่ 1

5,876,353

665,883

2

ศูนย์อนามัยที่ 2

3,538,314

400,947

3

ศูนย์อนามัยที่ 3

2,935,081

332,591

4

ศูนย์อนามัยที่ 4

5,401,564

612,082

5

ศูนย์อนามัยที่ 5

5,331,768

604,173

6

ศูนย์อนามัยที่ 6

6,199,296

702,478

7

ศูนย์อนามัยที่ 7

5,024,006

569,299

8

ศูนย์อนามัยที่ 8

5,519,803

625,481

9

ศูนย์อนามัยที่ 9

6,717,536

761,203

10

ศูนย์อนามัยที่ 10

4,586,883

519,766

11

ศูนย์อนามัยที่ 11

4,482,497

507,938

12

ศูนย์อนามัยที่ 12

4,985,404

564,925

13

สสม.

5,588,222

633,234

รวมทั้งหมด

66,186,727

7,500,000

 

หมายเหตุ จำนวนเป้าหมาย 7,500,000 คน เท่ากับ 5,000,000 ครอบครัว

(* อ้างอิงจากข้อมูล สถิติประชากรทางทะเบียนราษฎร เดือนธันวาคม 2563: สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2564)

วิธีการประเมินผล

รายงานผลการลงทะเบียนจากแบบรายงานศูนย์อนามัยที่ 1-12 และ สสม.

เอกสารสนับสนุน

1.คู่มือแนวทางการใช้งาน Application 10 Packages

2.คู่มือแนวทางการใช้งาน Application BSE

3.คู่มือแนวทางการใช้งาน Application H4U

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

   ชื่อ – สกุล นางพรเลขา  บรรหารศุภวาท    ตำแหน่ง นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : -                           โทรศัพท์มือถือ : 081-8700012

   โทรสาร : -                                      E-mail : ponlakha.b@anamai.mail.go.th

   สถานที่ทำงาน  กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

   ชื่อ – สกุล น.ส.กมลนิตย์ มาลัย              ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : -                           โทรศัพท์มือถือ :

   โทรสาร : -                                     E-mail: kamolnit.m@anamai.mail.go.th

   สถานที่ทำงาน  กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

   ชื่อ – สกุล นายกชธนาณัฏฐ์  โพธิมา      ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 4662         โทรศัพท์มือถือ : 08 7211 3219

   โทรสาร : -                                 E-mail: Kotthananat.p@anamai.mail.go.th

   สถานที่ทำงาน  กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

   ชื่อ – สกุล น.ส.ศิรินทรา พินิจกุล          ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 4522         โทรศัพท์มือถือ : 09 7137 6927

   โทรสาร : -                                 E-mail: sirintra.p@anamai.mail.go.th

   สถานที่ทำงาน  กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

 

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

   ชื่อ – สกุล นายเอกชัย  เพียรศรีวัชรา       ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : -                           โทรศัพท์มือถือ : 09 1890 4608

   โทรสาร : -                                      E-mail : -

   สถานที่ทำงาน  กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

   ชื่อ – สกุล นางพรเลขา  บรรหารศุภวาท    ตำแหน่ง นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : -                           โทรศัพท์มือถือ : 081-8700012

   โทรสาร : -                                      E-mail : ponlakha.b@anamai.mail.go.th

   สถานที่ทำงาน  กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-09-21 16:22:07
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>