ระดับความสำเร็จในการเตรียมพร้อมและตอบโต้การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการเตรียมพร้อมและตอบโต้การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2564
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่026
Sort Order0
คำนิยาม

 

1. โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หมายถึง การติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทั้งที่มีอาการและไม่มีอาการ โดยมีผลตรวจทางห้องปฏิบัติการยืนยันเป็นบวก

2. ระดับความสำเร็จในการเตรียมพร้อมและตอบโต้การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ หมายถึง การดำเนินการตามกิจกรรมหลักภายใต้แผนงานรองรับนโยบายมุ่งเน้นของกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (House Model) ประเด็น
เพิ่มศักยภาพความมั่นคงทางสุขภาพในการจัดการกับโรคโควิด 19 ใน 8 ประเด็น ได้แก่

  1. Staff-Stuff-System & ICS พร้อม
  2. ทุกจังหวัดมีและซ้อมแผน และ SOP
  3. หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) เพิ่มเป็น 3 เท่า (surge capacity)
  4. ห้องปฏิบัติการทุกจังหวัดสามารถแจ้งผลตรวจการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ใน 1 วัน
  5. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการสุขภาพจิต
  6. มี Real time Dashboard สำหรับผู้บริหารตัดสินใจ
  7. ระบบกักกันโรค (Quarantine) ที่ได้มาตรฐานทุกจังหวัด
  8. ประชาชนสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย

3. Staff-Stuff-System & ICS พร้อม หมายถึง ความพร้อมด้าน EOC ในการพัฒนาศูนย์ EOC เพื่อให้สามารถจัดการภาวะฉุกเฉินทุกโรคและภัยสุขภาพได้อย่างรวดเร็ว เป็นระบบ มีความเป็นเอกภาพ มีประสิทธิภาพ และปลอดภัย โดยมีการพัฒนา 3 ด้าน ดังนี้

    1) ด้านกำลังคนที่มีสมรรถนะ (Staff) หมายถึง หน่วยงานจะต้องกำหนดและมีการวางแผนบุคลากรสำหรับตำแหน่งในการตอบสนองต่อสถานการณ์ตามระบบ ICS ซึ่งต้องสอดคล้องกับแผนระดมทรัพยากรและแผนประคับประคองกิจการของหน่วยงานอย่างเหมาะสม รวมทั้งมีการฝึกอบรมความรู้และทักษะเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้จริงเมื่อมีภาวะฉุกเฉินเกิดขึ้น

    2) ด้านวัสดุอุปกรณ์ (Stuff) หมายถึง วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ครุภัณฑ์ที่ใช้รวมถึงห้องสำหรับให้ทีมปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทำงาน มีโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบข้อมูลที่มีความรวดเร็ว ถูกต้อง ทันสถานการณ์ สามารถเชื่อมโยงได้ ระบบแสดงผลการประมวลข้อมูลข่าวสาร และระบบสื่อสาร

   3) ด้านระบบงาน (System) หมายถึง ระบบบัญชาการเหตุการณ์และแผนการปฏิบัติตอบสนองต่อสถานการณ์รวมถึงระบบการปฏิบัติอื่นๆ

4. ทุกจังหวัดมีและซ้อมแผน และขั้นตอนการปฏิบัติงาน (SOP) หมายถึง จังหวัดจัดทำแผนเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขที่เตรียมไว้ เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉินที่ครอบคลุมทุกโรคและภัยสุขภาพ ทั้งในแผนระดับบัญชาการณ์และแผนระดับปฏิบัติการสำหรับหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติเตรียมความพร้อมและนำไปใช้ในการจัดการภาวะฉุกเฉินได้ทันต่อสถานการณ์และมีประสิทธิภาพ ได้แก่ แผนปฏิบัติการควบคุมทุกโรคและภัยสุขภาพ แผน แนวทาง หรือคู่มือปฏิบัติการที่เตรียมไว้ล่วงหน้าสำหรับการตอบโต้สถานการณ์โรคหรือภัยสุขภาพที่จำเพาะ แผนระดมสรรพกำลัง แผนปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน และดำเนินการซ้อมแผนอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี

5. หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) เพิ่มเป็น 3 เท่า (surge capacity) หมายถึง
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดจัดตั้งทีมปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อเพิ่มจาก 1 ทีมต่ออำเภอ เป็น 3 ทีมต่ออำเภอ

6. ห้องปฏิบัติการทุกจังหวัดสามารถแจ้งผลตรวจการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ใน 1 วัน หมายถึง จำนวนห้องปฏิบัติการตรวจเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ที่สามารถแจ้งผลตรวจการติดเชื้อ ได้ใน 1 วัน

ยกเว้น

1) กรณีผลกำกวม อาจมีการส่งต่อห้องปฏิบัติการอื่น ซึ่งจะใช้เวลามากกว่า 24 ชั่วโมง โดยมีการประสานรายงานเบื้องต้นไปก่อน

2) กรณีเฝ้าระวังหรือการตรวจตามนโยบายอื่นๆ ที่ส่งผลให้มีจำนวนตัวอย่างมาครั้งละมากๆ
เกินขีดความสามารถในการบริการปกติ

7. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการสุขภาพจิต หมายถึง หมายถึง ผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต ใน 4 ประเด็น (St B Su D : Stress, Burnout, Suicide, Depression) ได้แก่ ภาวะเครียด (Stress) ภาวะเหนื่อยล้าหมดไฟ (Burnout) ความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (Suicide) และภาวะซึมเศร้า (Depress) จากการเฝ้าระวังและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตด้วยการค้นหาคัดกรองเชิงรุก (Active Screening) ภายใต้กรอบการดำเนินงานระยะสั้นของแผนการฟื้นฟูจิตใจในสถานการณ์การระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ปี 2563-2564 โดยวิเคราะห์ประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากสถานการณ์
การติดเชื้อและการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศไทย ประกอบด้วย กลุ่มบุคลากร
ทางการแพทย์และสาธารณสุข ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโรโรนา 2019 และสมาชิกในครอบครัว ผู้ถูกกักตัว (Quarantine) และกลุ่มเปราะบางทางสังคม ตามที่กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
ได้คาดการณ์ไว้ว่าจะดำเนินไปเป็น 3 ระยะ ในทุกระลอกของการระบาด ได้แก่

     ระยะที่ 1 พบผู้ป่วยเดินทางมาจากประเทศที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

     ระยะที่ 2 พบผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายในประเทศ และมีการระบาดในวงจำกัด

     ระยะที่ 3 พบการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในวงกว้าง ในประเทศไทย

โดยประชาชนกลุ่มเสี่ยงจะได้รับการประเมินและคัดกรองด้านสุขภาพจิต ใน 4 ประเด็นปัญหา
ผ่านระบบบริการวิกฤตสุขภาพจิต ตลอดจนการคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตทางออนไลน์ โทรศัพท์ หรือผ่าน Application ต่างๆ ที่สอดรับกับชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) เพื่อให้ได้รับการดูแลช่วยเหลือ และติดตามต่อเนื่อง อย่างน้อย 1 ครั้ง

8. มี Real time Dashboard สำหรับผู้บริหารตัดสินใจ หมายถึง การแสดงข้อมูลที่เป็นปัจจุบันเพื่อให้ผู้บริหารสามารถนำไปตัดสินใจในการบัญชาการเหตุการณ์ได้ทันเวลา ซึ่งประกอบด้วย

    1) ข้อมูลสถานการณ์โรค ได้แก่ ผู้ป่วยติดเชื้อรายใหม่ ผู้ป่วยติดเชื้อสะสม ผู้ป่วยติดเชื้อที่รักษาอยู่ ผู้ป่วยติดเชื้อที่กลับบ้าน ผู้ป่วยติดเชื้อที่เสียชีวิต และผู้กักกันตัวในสถานกักกันโรคแห่งรัฐ

    2) การจัดการด้าน EOC ได้แก่ ข้อมูลบุคลากร (Staff) จำนวนบุคลากรที่เข้าเกณฑ์ PUI ข้อมูลทรัพยากร (Stuff) ยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา จำนวนห้อง AIIR, Isolate room, Cohort ward ข้อมูลระบบ (System) ระบบรายงานข้อมูล COWARD

    3) การจัดการข้อมูลผู้เดินทางเข้าประเทศ

9. ระบบกักกันโรค (Quarantine) ที่ได้มาตรฐานทุกจังหวัด หมายถึง สถานที่เอกเทศทุกประเภท
ที่จัดตั้งขึ้นหรือระบุให้เป็นสถานที่ในการกักกันผู้ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่ามีการติดเชื้อหรือมีการสัมผัสหรือเดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง โดยปฏิบัติตามมาตรการในการควบคุมและป้องกันโรคที่กรมควบคุมโรคและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นผู้กำหนดและผ่านการรับรองโดยคณะทำงานด้านวิชาการภายใต้คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ

10. ประชาชนสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย หมายถึง ประชาชนที่อยู่ในราชอาณาจักรไทยสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยเมื่ออยู่ในสถานที่ที่มีคนรวมตัวกัน/สถานที่แออัด เพื่อป้องกัน
โรคโควิด 19 มากกว่าร้อยละ 85

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aจังหวัด
นิยามของค่า Aจำนวนจังหวัดทั้งหมด
หน่วยของค่า Bจังหวัด
นิยามของค่า Bจำนวนจังหวัดทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator=
เกณฑ์เป้าหมายระดับดีมาก (76 จังหวัด และ กทม.)
ประชากรกลุ่มเป้าหมายสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด จำนวน 76 จังหวัด และกรุงเทพมหานคร
ค่าเป้าหมาย100.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

 

กรมควบคุมโรค :

1. กองระบาดวิทยา และสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ กองโรคติดต่อทั่วไป

หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) เพิ่มเป็น 3 เท่า

สำรวจคำสั่งแต่งตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) ตรวจสอบจำนวนทีมปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU)

จัดอบรมเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ ระดับเขตสุขภาพ ภายในเดือนธันวาคม 2563 โดยกองระบาดวิทยา และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด จัดอบรมหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) ระดับอำเภอ โดยขอรับรองหลักสูตรจากกรมควบคุมโรค

จังหวัดจัดทำคำสั่งแต่งตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) ที่ระบุจำนวนหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) ระดับอำเภอ, รายงานผ่านทางเว็บไซต์ กรมควบคุมโรค(https://ims.ddc.moph.go.th/index.php)

กองโรคติดต่อทั่วไปรวบรวมคำสั่งแต่งตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) ทางเว็บไซต์ กรมควบคุมโรค (https://ims.ddc.moph.go.th/index.php) กองระบาดวิทยาร่วมประสานติดตามผลการดำเนินงาน รวบรวมปัญหา อุปสรรค

2. กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน

ความพร้อมด้าน EOC โดยการประเมิน EOC Assessment Tool ปีละ 1 ครั้ง ดำเนินการร่วมกับกองสาธารณสุขฉุกเฉิน

ระบบกักกัน (Quarantine) ที่ได้มาตรฐานทุกจังหวัด ใช้ข้อมูลผลการตรวจเยี่ยมและติดตามกำกับเชิงคุณภาพของการดำเนินภารกิจการกักกัน เพื่อป้องกันและควบคุมโรค

3. ศูนย์สารสนเทศ

Dashboard ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปฏิบัติการต่างๆ เพื่อควบคุมโรคในส่วนที่รับผิดชอบ โดย กรมควบคุมโรค ได้แก่ การจัดการข้อมูลผู้เดินทางเข้าประเทศ

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ :

ห้องปฏิบัติการที่ใช้ระบบ CO-LAB ครบถ้วนตามขั้นตอนที่กำหนด ใช้ข้อมูลจาก CO-LAB

กรมอนามัย :

ประชาสัมพันธ์ สื่อสารให้ประชาชนร่วมตอบแบบสำรวจออนไลน์ อนามัยโพล : การสำรวจพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในการป้องกันโรคโควิด 19  โดยเข้าถึงแบบสำรวจได้ 2 ช่องทาง คือ

1. Platform “Thai stop COVID” https://stopcovid.anamai.moph.go.th/newnormal

ที่ไอคอน “Anamai Poll”

2. Link แบบสำรวจออนไลน์โดยตรงบนหน้าเว็ปไซต์ https://sites.google.com/view/hia-surveillance/anamai-poll-covid?authuser=0 พร้อมแสดงผลการสำรวจออนไลน์แบบ Dashboard ระดับประเทศ เขต และจังหวัด  

กรมสุขภาพจิต :

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการสุขภาพจิต โดย กองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต จัดส่งเอกสาร/หลักฐาน รายงานการปฏิบัติงาน ทุกวันพฤหัสบดี สัปดาห์สุดท้ายของเดือน ดังนี้

1. ทะเบียนติดตามกลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต) MCATT COVID-19)

2. สรุปภาพรวมการดำเนินงานการดูแลช่วยเหลือ และติดตามต่อเนื่อง ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต และสรุปผลการดำเนินงานการดูแลช่วยเหลือทางสังคมจิตใจประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต ใน 4 ประเด็น

3. แบบฟอร์มสรุปการพัฒนาศักยภาพเพื่อรับมือกับสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และส่งรายงานประเมินผลรอบครึ่งปีงบประมาณ และรอบปีงบประมาณ โดยจัดส่งรายงานมาที่
E-mail : mcatt.mhso@dmh.mail.go.th

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และศูนย์สารสนเทศ กรมควบคุมโรค : มี Realtime Dashboard สำหรับผู้บริหารตัดสินใจ โดย

1. รายงานข้อมูลลงระบบ COWARD ได้แก่ ผู้ป่วยติดเชื้อรายใหม่ ผู้ป่วยติดเชื้อสะสม ผู้ป่วยติดเชื้อ
ที่รักษาอยู่ ผู้ป่วยติดเชื้อที่กลับบ้าน ผู้ป่วยติดเชื้อที่เสียชีวิต ข้อมูลทรัพยากร (Stuff) ยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา จำนวนห้อง AIIR, Isolate room, Cohort ward

2. รายงานข้อมูลช่องทางอื่น ได้แก่ ผู้เดินทางเข้าประเทศ

แหล่งข้อมูล

กรมควบคุมโรค :

1. กองระบาดวิทยา และสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ กองโรคติดต่อทั่วไป
(ส่วนกลาง : กองระบาดวิทยาและกองโรคติดต่อทั่วไป, จังหวัด : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด)

หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) เพิ่มเป็น 3 เท่า ใช้แหล่งข้อมูลจากเว็บไซต์ Implementation Monitoring System กรมควบคุมโรค (https://ims.ddc.moph.go.th/index.php)

2. กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน

ข้อมูลผลการตรวจเยี่ยมและติดตามกำกับเชิงคุณภาพของการดำเนินภารกิจการกักกัน เพื่อป้องกันและควบคุมโรค

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ :
1. ระบบ CO-LAB

2. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข (หลัก)

3. กองการแพทย์จีโนมิกส์และสนับสนุนนวัตกรรม

4. ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ทุกแห่ง

กรมอนามัย :

ศูนย์อนามัยทั้ง 12 เขตและสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง ร่วมกันดำเนินการและสรุปรายงานผลการสำรวจอนามัยโพล : พฤติกรรมการสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยของประชาชน โดยเข้าถึงข้อมูลผลการสำรวจได้ที่ https://sites.google.com/view/hia-surveillance   

กรมสุขภาพจิต :

ทีม MCATT ศูนย์สุขภาพจิตที่ 1-13  และสถาบัน/โรงพยาบาลจิตเวช ที่รับผิดชอบพื้นที่ใน
เขตสุขภาพเดียวกัน ร่วมกันดำเนินการและสรุปรายงานผลการดำเนินงานการดูแลช่วยเหลือ
และติดตามต่อเนื่อง ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต และทะเบียนติดตามกลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต (MCATT COVID-19)

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน, ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทสและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และ ศูนย์สารสนเทศ กรมควบคุมโรค : ระบบฐานข้อมูล COWARD

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญใช่
ตัวชี้วัด Area Baseใช่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1-4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2561

2562

2563

ระดับความสำเร็จในการเตรียมพร้อมและตอบโต้การระบาด
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่

ระดับ

ตัวชี้วัดใหม่ 2564

 
เกณฑ์การประเมินผล

 

ที่

เป้าหมาย/ตัวชี้วัด

คะแนน

ระดับ

เป้าหมายดำเนินการ

ประเทศ

จังหวัด

3 เดือน

6 เดือน

9 เดือน

12 เดือน

1

Staff-Stuff-System & ICS พร้อม

5

 

 

 

2

ทุกจังหวัดมีและซ้อมแผน และ SOP

5

 

 

 

3

หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) ของจังหวัดและกรุงเทพมหานคร เพิ่ม 3 เท่า

5

 

 

 

4

ห้องปฏิบัติการทุกจังหวัดสามารถแจ้งผลตรวจการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ใน 1 วัน

5

5

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ร้อยละ 50

5

 

 

 

6

มี Real time Dashboard สำหรับผู้บริหารตัดสินใจ

5

-

 

 

 

7

ระบบกักกันโรค (Quarantine) ที่ได้มาตรฐาน ทุกจังหวัด

5

 

 

 

8

ประชาชนสวมหน้ากากมากกว่าร้อยละ 85

5

 

คะแนนเต็ม

40

40

35

 

 

 

 

 

ระดับความสำเร็จในการเตรียมพร้อมและตอบโต้การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ คำนวนคะแนนจากผลการดำเนินงานใน 8 ประเด็น (ระดับประเทศ) และ 7 ประเด็น (ระดับจังหวัด) โดยแบ่งเป็น
3 ระดับ ดังนี้

ระดับ

คะแนนเต็ม

ความสำเร็จ (คะแนน)

ปานกลาง

ดี

ดีมาก

ประเทศ

40

1.00 - 13.33

13.34 - 26.67

26.68 - 40.00

จังหวัด

35

1.00 - 11.66

11.67 - 23.33

23.34 - 35.00

1. การดำเนินงานตามกิจกรรมหลัก โดยมีช่วงคะแนนของแต่ละประเด็น 1 - 5 คะแนน ระดับประเทศมีคะแนนเต็ม 40 คะแนน และระดับจังหวัดมีคะแนนเต็ม 35 คะแนน

  2. กำหนดระดับความสำเร็จการดำเนินงาน 3 ระดับ ได้แก่ ระดับปานกลาง ระดับดี และระดับดีมาก 

3. นำคะแนนรวมของทุกประเด็น มาแบ่งช่วงคะแนนโดยนำคะแนนเต็ม หารด้วย 3 ระดับ จะได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากัน แบ่งเป็น 3 ช่วง ดังตารางข้างต้น

ประเทศ : รอบ 3 เดือน

ที่

ตัวชี้วัด

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

4 คะแนน

5 คะแนน

1

จำนวนจังหวัดที่มีความพร้อม EOC (Staff-Stuff-System & ICS พร้อม) ตามเกณฑ์ EOC Assessment Tool

-

-

-

-

76 จังหวัด

และ กทม.

2

จำนวนจังหวัดที่มีความพร้อม EOC (มีแผน ซ้อมแผน และ SOP)

-

-

-

-

76 จังหวัด

และ กทม.

3

จำนวนห้องปฏิบัติการที่สามารถแจ้งผลตรวจการติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 ได้ใน 1 วัน

≤ ร้อยละ 50

ร้อยละ 60

ร้อยละ 70

ร้อยละ 80

≥ ร้อยละ 90

4

จำนวนจังหวัดที่มีระบบกักกันโรค (Quarantine) ที่ได้มาตรฐาน

-

-

-

-

76 จังหวัด และ กทม.

5

ร้อยละของประชาชนสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย

≤ ร้อยละ

65

ร้อยละ 70

ร้อยละ 75

ร้อยละ 80

≥ ร้อยละ 85

ประเทศ : รอบ 6 เดือน

ที่

ตัวชี้วัด

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

4 คะแนน

5 คะแนน

1

จำนวนหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) ของจังหวัด และกรุงเทพมหานคร

≤ 557

หน่วย

1,114
หน่วย

1,670 หน่วย

2,227
หน่วย

2,784 หน่วย

2

จำนวนห้องปฏิบัติการที่สามารถแจ้งผลตรวจการติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 ได้ใน 1 วัน

≤ ร้อยละ 75

ร้อยละ 80

ร้อยละ 85

ร้อยละ 90

≥ ร้อยละ 90

3

ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการสุขภาพจิต

≤ ร้อยละ 30

ร้อยละ 35

ร้อยละ 40

ร้อยละ 45

≥ ร้อยละ 50

4

มี Real time Dashboard สำหรับผู้บริหารตัดสินใจ

-

-

-

-

มี Real time Dashboard

5

ร้อยละของประชาชนสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย

≤ ร้อยละ

65

ร้อยละ 70

ร้อยละ 75

ร้อยละ 80

≥ ร้อยละ 85

ประเทศ : รอบ 9 และ 12 เดือน

ที่

ตัวชี้วัด

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

4 คะแนน

5 คะแนน

1

จำนวนห้องปฏิบัติการที่สามารถแจ้งผลตรวจการติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 ได้ใน 1 วัน

≤ ร้อยละ 75

ร้อยละ 80

ร้อยละ 85

ร้อยละ 90

≥ ร้อยละ 90

2

ร้อยละของประชาชนสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย

≤ ร้อยละ

65

ร้อยละ 70

ร้อยละ 75

ร้อยละ 80

≥ ร้อยละ 85

จังหวัด : รอบ 3 เดือน

ที่

ตัวชี้วัด

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

4 คะแนน

5 คะแนน

1

จังหวัดมีความพร้อม EOC (Staff-Stuff-System & ICS พร้อม) ตามเกณฑ์ EOC Assessment Tool

≤ ร้อยละ 40

 

ร้อยละ 45

 

ร้อยละ 50

 

ร้อยละ 55

 

≥ ร้อยละ60

2

จังหวัดมีความพร้อม EOC
(มีแผน ซ้อมแผน และ SOP)

มีแผนและSOP แต่ไม่ซ้อมแผน

-

-

-

มีแผนและSOP และซ้อมแผน

3

จำนวนตัวอย่างที่แจ้งผลตรวจการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ใน 1 วัน

≤ ร้อยละ 50

ร้อยละ 60

ร้อยละ 70

ร้อยละ 80

≥ ร้อยละ 90

4

ร้อยละของจังหวัดที่มีการบริหารจัดการสถานที่กักกัน (Quarantine) ได้มาตรฐานและเหมาะสมกับสถานการณ์ของจังหวัด

≤ ร้อยละ 80

ร้อยละ 85

ร้อยละ 90

ร้อยละ 95

ร้อยละ 100

5

ร้อยละของประชาชนสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย

≤ ร้อยละ

65

ร้อยละ 70

ร้อยละ 75

ร้อยละ 80

≥ ร้อยละ 85

จังหวัด : รอบ 6 เดือน

ที่

ตัวชี้วัด

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

4 คะแนน

5 คะแนน

1

ร้อยละของอำเภอที่มีหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) ครบ 3 ทีม

≤ ร้อยละ 60

ร้อยละ 70

ร้อยละ 80

ร้อยละ 90

ร้อยละ 100

2

จำนวนตัวอย่างที่แจ้งผลตรวจการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ใน 1 วัน

≤ ร้อยละ 75

ร้อยละ 80

ร้อยละ 85

ร้อยละ 90

≥ ร้อยละ 90

3

ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการสุขภาพจิต

≤ ร้อยละ 30

ร้อยละ 35

ร้อยละ 40

ร้อยละ 45

≥ ร้อยละ 50

4

ร้อยละของประชาชนสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย

≤ ร้อยละ

65

ร้อยละ 70

ร้อยละ 75

ร้อยละ 80

≥ ร้อยละ 85

จังหวัด : รอบ 9 และ 12 เดือน

ที่

ตัวชี้วัด

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

4 คะแนน

5 คะแนน

1

จำนวนตัวอย่างที่แจ้งผลตรวจการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ใน 1 วัน

≤ ร้อยละ 75

ร้อยละ 80

ร้อยละ 85

ร้อยละ 90

≥ ร้อยละ 90

2

ร้อยละของประชาชนสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย

≤ ร้อยละ

65

ร้อยละ 70

ร้อยละ 75

ร้อยละ 80

≥ ร้อยละ 85

 

วิธีการประเมินผล
เอกสารสนับสนุน

1. แบบประเมิน EOC Assessment Tool

2. แนวทางการบริหารจัดการสถานที่กักกันซึ่งทางราชการกำหนด (Quarantine Facilities)   
 Website กรมควบคุมโรค https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/g_quarantine.php

3. คู่มือการใช้งานระบบ CO-Lab

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

 

กรมควบคุมโรค

1. นายแพทย์โสภณ เอี่ยมศิริถาวร           ผู้อำนวยการกองโรคติดต่อทั่วไป

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3160       โทรศัพท์มือถือ : 081 555 9216

    โทรสาร : 0 2590 8432                 E-mail : sopon@ddc.mail.go.th

2. นายแพทย์จักรรัฐ  พิทยาวงศ์อานนท์     ผู้อำนวยการกองระบาดวิทยา

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3800       โทรศัพท์เคลื่อนที่ : 063 234 5152

    โทรสาร : 0 2590 3845                 E-mail : Chakkrarat@gmail.com

3.  นายแพทย์สุวิช ธรรมาปาโล              ผู้อำนวยการกองด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ

                                                   และกักกันโรค

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3008       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 0 2965 9569                  E-mail :

4. นายแพทย์ยงเจือ เหล่าศิริถาวร            ผู้อำนวยการศูนย์สารสนเทศ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3093       โทรศัพท์มือถือ : 081 811 3615

    โทรสาร : 0 2965 9576                  E-mail : yongjua@gmail.com

 

 

5.  นายแพทย์เฉวตสรร นามวาท             ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะ         

                                                      ฉุกเฉิน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3155       โทรศัพท์มือถือ : 081 844 5468

    โทรสาร : 0 2589 2515                  E-mail : chawetsan@gmail.com

6. นายแพทย์รัฐพงษ์ บุรีวงษ์                 นายแพทย์ชำนาญการกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะ 

                                                                       ฉุกเฉิน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3238       โทรศัพท์มือถือ : 086 569 4886

    โทรสาร : 0 2590 3238                  E-mail : rattapong.b.@gmail.com

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

    นางพิไลลักษณ์ โอกาดะ                   นักเทคนิคการแพทย์ชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2951 0000 ต่อ 99305   โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร : -                                 E-mail : pilailuk.o@dmsc.mail.go.th

กรมอนามัย

   นางนภพรรณ นันทพงษ์                     ผู้อำนวยการกองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 4342        โทรศัพท์มือถือ : 08 1935 5819

    โทรสาร : 0 2590 4356                   E-mail : napapann@yahoo.com

กรมสุขภาพจิต

   ผู้อำนวยการ                                  กองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 207 ต่อ 55207    โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร : -                                  E-mail : mcatt.mhso@dmh.mail.go.th

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

1. นายแพทย์วิทูรย์ อนันกุล                  ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉิน

โทรศัพท์ที่ทำงาน : -                      โทรศัพท์มือถือ : 084 555 1771

โทรสาร :  0 2590 1771               E-mail : witoon53@gmail.com

2. นายแพทย์ประกิจ สาระเทพ              นายแพทย์เชี่ยวชาญ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1353       โทรศัพท์มือถือ : 081 914 7872

    โทรสาร : 0 2590 1771                  E-mail : p.sarathep@gmail.com

 

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

 

กรมควบคุมโรค

1. นางสุพินดา ธีตีระรัตน์                     กองโรคติดต่อทั่วไป

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3178      โทรศัพท์มือถือ : 081 613 8323
    โทรสาร :                                   E-mail : teerarat.supinda@gmail.com

2. นางวิรงรอง แก้วสมบูรณ์                  กองโรคติดต่อทั่วไป

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3167       โทรศัพท์มือถือ : 081 615 9298

    โทรสาร : 0 2965 9595                  E-mail : poo-kiki@hotmail.com

3. นางสาวกีรติกานต์ กลัดสวัสดิ์             กองระบาดวิทยา

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3803       โทรศัพท์มือถือ : 081 698 9866

    โทรสาร : 0 2590 3845                 E-mail : k.kiratikarn@gmail.com

4. นางสุธิดา วรโชติธนัน                      กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3246       โทรศัพท์มือถือ : 095 530 1628

    โทรสาร : 0 2588 3767                 E-mail : pheplan2018@gmail.com

5. นางอนงนาฏ มโนภิรมย์                   กองด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศและกักกันโรค

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3232       โทรศัพท์มือถือ : 088 198 2451

    โทรสาร :  02 580 5726                  E-mail : anongnat2023@gmail.com

6. นางภัคนี สิริปูชกะ                         กองยุทธศาสตร์และแผนงาน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3084       โทรศัพท์มือถือ : 081 343 0544

    โทรสาร : 0 2965 9588                  E-mail : puckanee@gmail.com

7. นายแพทย์ยงเจือ เหล่าศิริถาวร            ผู้อำนวยการศูนย์สารสนเทศ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3093       โทรศัพท์มือถือ : 081 811 3615

    โทรสาร : 0 2965 9576                  E-mail : yongjua@gmail.com

กรมอนามัย

    นายปราโมทย์ เสพสุข                     กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 4359       โทรศัพท์มือถือ : 08 4709 0404

    โทรสาร : 0 2590 4356                 E-mail : pramote.s@anamai.mail.go.th

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

1. นางสาวฉัตรทิพย์ เครือหงษ์               นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2951 0000       โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร : -                                 E-mail : chattip.k@dmsc.mail.go.th

2. นางสาวเพ็ญพิชชา ถาวงศ์                 นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2951 0000 ต่อ 99305   โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร : -                                 E-mail : penpitcha.t@dmsc.mail.go.th

กรมสุขภาพจิต

1. นางสาวชนิกรรดา  ไทยสังคม             กองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 8580, 0 2590 8109 

    โทรศัพท์มือถือ : 08 1860 5943,  08 6398 4249

    โทรสาร : -                                  E-mail : mcatt.mhso@dmh.mail.go.th

2.  นางสาวพัชรินทร์  ศิริวิสุทธิรัตน์          กองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 8580, 0 2590 8109 

    โทรศัพท์มือถือ : 08 1860 5943,  08 6398 4249

    โทรสาร : -                                  E-mail : mcatt.mhso@dmh.mail.go.th

3.  นางสาวทิพย์ภาภร  พงค์สุภา             กองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 8580, 0 2590 8109 

    โทรศัพท์มือถือ : 08 1860 5943,  08 6398 4249

    โทรสาร : -                                  E-mail : mcatt.mhso@dmh.mail.go.th

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

1. นางสุรีรัตน์ ใจดี                                     รองผู้อำนวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉิน

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1353               โทรศัพท์มือถือ : 081 855 1771

    โทรสาร : 0 2590 1771                         E-mail : dphem.planning@gmail.com

2. นางสาวปาริฉัตร หมื่นจี้                           นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1908               โทรศัพท์มือถือ : 081 855 1771

    โทรสาร : 0 2590 1771                         E-mail : dphem.satg@gmail.com

3. นางสาวพณิดา นาถนอม                          นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1353               โทรศัพท์มือถือ : 081 855 1771

    โทรสาร : 0 2590 1771                          E-mail : dphem.satg@gmail.com

 

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

 

กรมควบคุมโรค

1. นายสัตวแพทย์พรพิทักษ์ พันธ์หล้า       ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3091       โทรศัพท์มือถือ : 082 658 4885

    โทรสาร : 0 2965 9588                  E-mail : ppanlar@yahoo.com

2. หัวหน้ากลุ่มติดตามและประเมินผล      กองยุทธศาสตร์และแผนงาน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 3257       โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร : 0 2965 9588                  E-mail : evaluation.m@ddc.mail.go.th

กรมอนามัย

   นางสาวเบญจวรรณ  ธวัชสุภา             กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 4394        โทรศัพท์มือถือ : 08 1631 7138

   โทรสาร : 0 2590 4356                   E-mail : ben_5708@hotmail.com

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

    นายบัลลังก์ อุปพงษ์                       ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2951 0000 - 11 ต่อ 99354-5     โทรศัพท์มือถือ : -

    โทรสาร : 0 2591 1912                  E-mail : -

กรมสุขภาพจิต

1. นางสาวนารีรัตน์  พิศหนองแวง           กองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 8580, 0 2590 8109 

    โทรศัพท์มือถือ : 08 1860 5943,  08 6398 4249

    โทรสาร : -                                  E-mail : mcatt.mhso@dmh.mail.go.th

2.  นางสาวศิริพร  สุขราช                        กองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 8580, 0 2590 8109 

    โทรศัพท์มือถือ : 08 1860 5943,  08 6398 4249

    โทรสาร : -                                  E-mail : mcatt.mhso@dmh.mail.go.th

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

1. นางสุรีรัตน์ ใจดี                                     รองผู้อำนวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉิน

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1353               โทรศัพท์มือถือ : 081 855 1771

    โทรสาร : 0 2590 1771                         E-mail : dphem.planning@gmail.com

2. นางสาวปาริฉัตร หมื่นจี้                           นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1908               โทรศัพท์มือถือ : 081 855 1771

    โทรสาร : 0 2590 1771                         E-mail : dphem.satg@gmail.com

3. นางสาวพณิดา นาถนอม                          นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1353               โทรศัพท์มือถือ : 081 855 1771

    โทรสาร : 0 2590 1771                          E-mail : dphem.satg@gmail.com

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base-
Areabase Kpi Regioncode-
หมายเหตุ
Last Update2021-05-20 15:58:58
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>