ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงามและแพทย์แผนไทย

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงามและแพทย์แผนไทย
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2563
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่051
Sort Order0
คำนิยาม

รายได้จากการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย หมายถึง รายได้มวลรวมที่เกิดจากการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และบริการทางการแพทย์ รวมถึงผลิตภัณฑ์สุขภาพของประเทศไทย ประกอบด้วยรายได้ที่เกิดขึ้นจากการส่งเสริมพัฒนาบริการและผลิตภัณฑ์สมุนไพร ใน 4 ผลผลิตหลัก ได้แก่

1) บริการรักษาพยาบาล (Medical Service)

2) บริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ (Wellness)

3) ศูนย์วิชาการทางการแพทย์ (Academic)  

4) ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (Product)

ซึ่งเป็นการดำเนินงานภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) (พ.ศ. 2560 - 2569) ที่ผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแล้ว เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2559

รายได้จากการแพทย์แผนไทย หมายถึง รายได้ที่เกิดจากการขับเคลื่อนสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ การนวดไทยเพื่อสร้างอาชีพและรายได้ และกัญชา กัญชง กระท่อมเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ

          เป้าหมายแห่งความสำเร็จ ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 กำหนดมาตรการความสำเร็จ (Small Success)กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

1. การพัฒนารูปแบบบริการสุขภาพและบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพให้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน ได้แก่

1.1 บริการดึงดูดชาวต่างชาติ (Magnet) ได้แก่ ด้านบริการรักษาพยาบาล/Wellness/Beauty

1.2 บริการเพื่อส่งเสริมคุณภาพ ได้แก่ Medical Spa/น้ำพุร้อน/สปาเพื่อสุขภาพ/นวดเพื่อสุขภาพ

2. ส่งเสริมและพัฒนาให้เกิดเมืองสมุนไพร และการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และการแพทย์แผนไทยในพื้นที่เป้าหมาย

3. พัฒนาฐานข้อมูลใน 4 ผลผลิตหลักเพื่อรองรับนโยบาย Medical Hub

4. ปรับปรุงมาตรการกฎหมาย กฎระเบียบ ประกาศ หรือข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เอื้อต่อการดำเนินตามนโยบาย Medical Hub

5. พัฒนาศูนย์สุขภาพครบวงจรของกลุ่มจังหวัดเมืองสมุนไพรเชื่อมโยงเมืองท่องเที่ยวและพัฒนาต้นแบบศูนย์สุขภาพดีทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน

6. ส่งเสริมการลงทุน (BOI) และพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก EEC ให้กับธุรกิจบริการสุขภาพและบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ

7. ส่งเสริมการจัดประชุมวิชาการทางการแพทย์ระดับนานาชาติ (Medical MICE)

8. จัดทำ Business Matching และ ประชาสัมพันธ์นโยบาย Medical Hub ผ่านช่องทางต่างๆ

8.1 จัดทำ Business Matching กับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นตลาดหลักและตลาดรอง

8.2 จัดทำแพคเกจสุขภาพ/ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ใน Magnet มี่ศักยภาพสูง

8.3 การจัด Trade Show/Road Show  ประชาสัมพันธ์ความพร้อมในการเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ในประเทศและต่างประเทศ 

8.4 ประชาสัมพันธ์บนสายการบินที่บินตรงสู่ประเทศไทย/Website/Social Media

9. สถานประกอบการมีรูปแบบและแนวทางการจัดบริการศูนย์สุขภาพดีทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานที่มีความปลอดภัยและได้มาตรฐาน

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aบาท
นิยามของค่า A รายได้จากการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย ในปี 2563 ของประเทศไทย (1 มกราคม 2563 – 31 ธันวาคม 2563 จาก Global Wellness Institute)
หน่วยของค่า Bบาท
นิยามของค่า Bรายได้จากการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย ในปี 2562 ของประเทศไทย (1 มกราคม 2562 – 31 ธันวาคม 2562 จาก Global Wellness Institute)
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด((A-B)/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 5
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย- ชาวต่างชาติที่รับบริการสุขภาพในสถานพยาบาล /สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ และผู้ซื้อหรือใช้บริการผลิตภัณฑ์สุขภาพ/ผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยในประเทศไทย - ผู้เดินทางเข้าร่วมประชุมวิชาการทางการแพทย์นานาชาติในประเทศไทย สถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ จำนวน 10 แห่ง - จังหวัดเมืองสมุนไพรเป้าหมาย 14 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย พิษณุโลก อุทัยธานี สระบุรี นครปฐม ปราจีนบุรี จันทบุรี มหาสารคาม สกลนคร สุรินทร์ อำนาจเจริญ สุราษฎร์ธานี สงขลา และอุดรธานี - จังหวัดเป้าหมายเพื่อพัฒนาต้นแบบศูนย์สุขภาพดีทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน 10 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย พิษณุโลก อุดรธานี ปราจีนบุรี สุราษฎร์ธานี สงขลา กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ ชลบุรี ภูเก็ต และ อุบลราชธานี และกลุ่มจังหวัด EEC/SEC - กระทรวงที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนแผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560 – 2564 ได้แก่ กษ, อก, พณ, อว, มท, ดศ, กก, กต, ทส, สธ ร่วมกับสภาวิชาชีพและเอกชน สภาหอการค้าไทย และสภาอุตสาหกรรม
ค่าเป้าหมาย5.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. แบบสำรวจข้อมูลด้านบริการสุขภาพและบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพแลผลิตภัณฑ์สุขภาพของประเทศไทย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

2. รายงานการตรวจราชการและนิเทศงาน

3. รายงานผลการวิจัยและสำรวจข้อมูลด้านบริการสุขภาพและบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพของไทย ประกอบการจัดทำศูนย์ข้อมูลรองรับนโยบาย Medical Hub กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

4. เก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลกลางและแหล่งข้อมูลประกอบ

5. เก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลกลางและแหล่งข้อมูลประกอบ

แหล่งข้อมูล

ส่วนกลาง

1. รายงานผลการวิจัยและสำรวจข้อมูลด้านบริการสุขภาพและบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพของไทย ประกอบการจัดทำศูนย์ข้อมูลรองรับนโยบาย Medical Hub กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

แยกรายปีงบประมาณ

2. Global Wellness Institute

     (เนื่องจากเป็นข้อมูลระดับนานาชาติ รายงานจะมีระยะเวลา 1 ปีปฏิทิน (1 มกราคม 2563 – 31 ธันวาคม 2563))

3. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

4. สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์กรมหาชน) (สสปน.)

5. กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

- ข้อมูลจากการสำรวจมูลค่ามวลรวมในเมืองสมุนไพร และเมืองที่ได้รับการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

- ข้อมูลจากการตรวจราชการและนิเทศงาน

6. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

7. การเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงพาณิชย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กระทรวงการต่างประเทศ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) และ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)

8. ศูนย์วิจัยที่เกี่ยวข้อง

ส่วนภูมิภาค

1. การจัดเก็บข้อมูลรายพื้นที่

1.1 รายงาน Demand Side จากการสำรวจข้อมูลรายพื้นที่

1.2 แบบรายงานตามกฎหมาย

1.2.1 รายงานประจำปีของสถานพยาบาลประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน(สพ.23) ตามพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 ,ฉบับที่ 2 พ.ศ.2547, ฉบับที่ 3 พ.ศ.2555, ฉบับที่ 4 พ.ศ.2559

1.2.2 รายงานประจำปีของสถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน (สพ.24) ตามพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 ,ฉบับที่ 2 พ.ศ.2547, ฉบับที่ 3 พ.ศ.2555, ฉบับที่ 4 พ.ศ.2559

1.2.3 รายงานประจำปีของสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ตามพระราชบัญญัติสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ. 2559 และพระราชบัญญัติสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ. 2562 (ฉบับที่ 2)

1.3 รายงานจากระบบ Hospital Information System (HIS) และหนี้สูญ (Health Data Center : HDC) ของกระทรวงสาธารณสุข

2. รายงานผลจากการทำกิจกรรมส่งเสริมในพื้นที่ (Small Success) ที่ส่งผลให้เกิดรายได้ตามนโยบาย Medical Hub

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผล12 เดือน 1. เป้าหมายแห่งความสำเร็จ ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 มาตรการความสำเร็จ (Small Success) 2. รายได้จากการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงามและแพทย์แผนไทย (1 ตุลาคม 2562 – 30 กันยายน 2563) (การเก็บข้อมูล/ประเมินผล/รายงาน ข้อมูลที่รวบรวมโดย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ / Global Wellness Institute / กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา)
ข้อมูล Baseline

- Baseline Data ปี 2561 มูลค่าการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเพิ่มขึ้นจากฐานเดิมร้อยละ 6.02 คิดเป็นมูลค่าจำนวน 1,510 ล้านบาท (ฐานเดิมในปี 2559 มีมูลค่าทั้งสิ้น  25,090 ล้านบาท) โดยมีกิจกรรมที่สร้างมูลค่าการใช้จ่ายเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ท่องเที่ยวพร้อมตรวจสุขภาพหรือศัลยกรรมเสริมสวย จำนวน 35,721.86 บาท ต่อคนต่อทริป)

** ข้อมูลจากศูนย์วิจัยด้านตลาดการท่องเที่ยว (TAT Intelligence Center) การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2561:  

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

ร้อยละ 6.02

 

 

 

 

ปี 2562:

จากรายงานผลการวิจัยและสำรวจข้อมูลด้านบริการสุขภาพและบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพของไทย ประกอบการจัดทำศูนย์ข้อมูลรองรับนโยบาย Medical Hub กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

-

-

ร้อยละ 3.46

 

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

1. การพัฒนารูปแบบบริการดึงดูดชาวต่างชาติ (Magnet) ในสถานพยาบาลที่ผ่าน JCI (62 แห่ง) และสถานประกอบการเพื่อสุขภาพชั้นนำ

2. การปรับปรุงมาตรการกฎหมาย กฎระเบียบ ประกาศ หรือข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เอื้อต่อการดำเนินตามนโยบาย Medical Hub จำนวน 2 ฉบับ

การขับเคลื่อนสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ ขับเคลื่อนการนวดไทย เพื่อสร้างอาชีพและรายได้ และขับเคลื่อนการกัญชา กัญชง สร้างเสริมสุขภาพ

1.บุคลากรด้านการนวดไทยได้รับการยกระดับเพิ่มขึ้น 50% (baseline ปี 62 พัฒนายกระดับแล้ว 350 คน ทั้งนี้มีผู้ประกอบวิชาชีพในสถานประกอบการนวดไทย จำนวน 104,023 คน ข้อมูล ณ ก.ย. 2561)

2. มาตรฐานนวดไทยได้รับการยกระดับให้เป็นที่ยอมรับ 4 รูปแบบ

3.  มีรายการผลิตภัณฑ์/ยาที่ได้รับการรับรองให้สามารถผลิตและจำหน่ายได้โดยไม่ต้องขออนุญาตขึ้นทะเบียน (Positive list) 30 รายการ

 

การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

1. การพัฒนารูปแบบบริการดึงดูดชาวต่างชาติ (Magnet) ในสถานพยาบาลที่ผ่าน JCI (62 แห่ง) และสถานประกอบการเพื่อสุขภาพชั้นนำ

2. การปรับปรุงมาตรการกฎหมาย กฎระเบียบ ประกาศ หรือข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เอื้อต่อการดำเนินตามนโยบาย Medical Hub จำนวน 3  ฉบับ

3. การเตรียมจัดทำฐานข้อมูล

การขับเคลื่อนสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ ขับเคลื่อนการนวดไทยเพื่อสร้างอาชีพและรายได้ และขับเคลื่อนการกัญชา กัญชง สร้างเสริมสุขภาพ

1. มีตำรับยาแผนไทยสำหรับประชาชน 30 ตำรับ

2. บุคลากรด้านการนวดไทยได้รับการยกระดับเพิ่มขึ้น 80%

3. เมืองสมุนไพร 14 ได้รับการพัฒนาเพื่อรองรับเศรษฐกิจในชุมชน รองรับการเกษตร อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

4. ส่งเสริมให้วิสาหกิจชุมชนปลูกกัญชา (Cannabis, Hamp) 100 ไร่

การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

1. เผยแพร่และประชาสัมพันธ์นโยบาย Medical Hub ในประเทศหรือต่างประเทศ จำนวน 1 ครั้ง

2. การเชื่อมโยงฐานข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการสำรวจรายพื้นที่

การขับเคลื่อนสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ ขับเคลื่อนการนวดไทย เพื่อสร้างอาชีพและรายได้ และขับเคลื่อนการกัญชา กัญชง สร้างเสริมสุขภาพ

1. มีผลิตภัณฑ์กัญชา (Cannabis, Hamp)  เชิงนวัตกรรมต้นแบบ 2 ผลิตภัณฑ์

2. มี big data และแอพพลิเคชั่นด้านการนวดไทย 1 ระบบ

3. มีศูนย์สุขภาพครบวงจรของจังหวัดเมืองสมุนไพรเชื่อมโยงเมืองท่องเที่ยวและศูนย์สุขภาพดีทางการแพทย์แผนไทยฯ 10 จังหวัด

 

การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

1. มีฐานข้อมูลใน 4 ผลผลิตหลัก ตามนโยบาย Medical Hub จำนวน 1 ฐาน

2. การทำ Business Matching ระหว่างสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพของไทยในประเทศ และต่างประเทศ จำนวน 10 แห่ง

3. มี Magnet ที่มีศักยภาพสูงสามารถสร้างรายได้ รวม 6 ประเภท IVF/Dental/Beauty/

Plastic Surgery/thai massage/Sex Change

การขับเคลื่อนสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ ขับเคลื่อนการนวดไทย เพื่อสร้างอาชีพและรายได้ และขับเคลื่อนการกัญชา กัญชง สร้างเสริมสุขภาพ

1. มีตำรับยาแผนไทยสำหรับประชาชนเพิ่มเป็น 100 ตำรับ

2. มีผลิตภัณฑ์ต้นแบบของตำรับยาแผนไทย 10 ผลิตภัณฑ์

3. อัตราเพิ่มของมูลค่าการบริโภคสมุนไพรในประเทศเพิ่มขึ้น 1 เท่าตัว คือ 12,000 ล้านบาท (Baseline ค่าเฉลี่ยของอัตราเพิ่มของมูลค่าการบริโภคสมุนไพร ปี 60-61: 6,000 ล้านบาท)

4. คนไทยมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการประกอบอาชีพนวดไทย 540 ล้านบาท

5. รายได้ของประเทศจากการพัฒนากัญชาทางการแพทย์แผนไทย 80 ล้านบาท

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หมายเหตุ : Baseline Data ปี 2562 มีมูลค่าการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพรวมทั้งสิ้น 59,792.60 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากฐานเดิมปี 2561 ร้อยละ 3.46  คิดเป็นมูลค่า 2,001.26 ล้านบาท โดยเป็นค่าใช้จ่ายด้านบริการเชิงสุขภาพ จำนวน 31,989.04 ล้านบาท และเป็นค่าใช้จ่ายด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ จำนวน 27,803.56 ล้านบาท

** ข้อมูลจากรายงานผลการวิจัยและสำรวจข้อมูลด้านบริการสุขภาพและบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพของไทย ประกอบการจัดทำศูนย์ข้อมูลรองรับนโยบาย Medical Hub กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

 

 

 

 

 

 

ปี  2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

ร้อยละ 3

Baseline Data ปี 2563

ร้อยละ 4

ร้อยละ 5

 

 

 

 

ปี 2565:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

อยละ 3

Baseline Data ปี 2564

ร้อยละ 4

ร้อยละ 5

 

วิธีการประเมินผล

ประเมินผลจากความสำเร็จ ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (Small Success) ตามมาตรการ ได้แก่

1. ภายใต้มาตรการตามนโยบาย Medical Hub

2. ภายใต้มาตรการตามเมืองสมุนไพร

3. การสำรวจของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพและกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

4. การตรวจราชการและนิเทศงาน

5. รวบรวม/วิเคราะห์/ประเมินผลข้อมูลจาก กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ/Global Wellness Institute/ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

6. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

7. รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลกลางและแหล่งข้อมูลประกอบต่างๆ เช่น ข้อมูลจากรายงาน

บทวิเคราะห์ข้อมูลโดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ/กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา/ศูนย์วิจัยกสิกรไทย/ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจธนาคารไทยพาณิชย์/สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย/สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย/สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์กรมหาชน) (สสปน.) รวมทั้งแหล่งข้อมูลด้าน Medical Hub จากหน่วยงานทั้งในประเทศ และต่างประเทศ โดยการเก็บข้อมูล/ประเมินผล/รายงาน ตามปีปฏิทิน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2563

  8. เปรียบเทียบมูลค่าการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพกับปี 2562 เพื่อหา Baseline data ในปีถัดไป    

เอกสารสนับสนุน

1. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ

2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 ถึง พ.ศ. 2564

3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (พ.ศ. 2560 - 2569)

4. แผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560 – 2564

5. คู่มือยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองสมุนไพร

6. พระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520

7. พระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2534

8. พระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2544, (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2560

9. พระราชบัญญัติเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน พ.ศ. 2560

10. พระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2561

11. เอกสารราชการ / เอกสารรายงานตามแบบฟอร์มที่กำหนด / Website จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1.  นางเสาวภา จงกิตติพงศ์             ผู้อำนวยการกองสุขภาพระหว่างประเทศ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2193 7000 ต่อ 18404 

    E-mail : saowapaj@gmail.com

    กองสุขภาพระหว่างประเทศ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

2. นางสาวภาวิณี สังขบูรณ์ นักวิเทศสัมพันธ์ชำนาญการ

    โทร. 0 2193 7000 ต่อ 18404   โทรศัพท์มือถือ : 086 9277971

E-mail :  mai111p@hotmail.com
     กองสุขภาพระหว่างประเทศ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 

3. นายแพทย์ขวัญชัย  วิศิษฐานนท์   ผู้อำนวยการสถาบันการแพทย์แผนไทย

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-149-5648     โทรศัพท์มือถือ : 084-439-1505

   โทรสาร :      -                      E-mail : khwancha@health.moph.go.th

สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

4. นางมณฑกา  ธีรชัยสกุล        ผู้อำนวยการกองสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-149-5609     โทรศัพท์มือถือ : 090-9194391

   โทรสาร :      -                             E-mail : th.herbalcity@gmail.com

กองสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กลุ่มแผนงาน สำนักบริหาร กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

กลุ่มแผนงาน สำนักบริหาร กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-1937000 ต่อ 18605  E-mail : planhss.hss@gmail.com

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>