ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดกลุ่มเสี่ยงก่อความรุนแรงได้รับการประเมิน บำบัดรักษาและติดตามดูแลช่วยเหลือตามระดับความรุนแรง อย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดกลุ่มเสี่ยงก่อความรุนแรงได้รับการประเมิน บำบัดรักษาและติดตามดูแลช่วยเหลือตามระดับความรุนแรง อย่างต่อเนื่อง
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2563
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่042
Sort Order0
คำนิยาม

ผู้ป่วยยาเสพติดกลุ่มเสี่ยงก่อความรุนแรง หมายถึง ผู้ป่วยยาเสพติดที่ทีอาการหรือพฤติกรรมในข้อใดข้อหนึ่ง อย่างน้อย 1 ข้อ ตามเกณฑ์ต่อไปนี้

1. มีประวัติการฆ่าตัวตายด้วยวิธีการรุนแรงโดยตั้งใจจะให้เสียชีวิตตลอดช่วงชีวิตที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน

2. มีประวัติการก่อความรุนแรง ทาร้ายผู้อื่น หรือสร้างความรุนแรงในชุมชนตลอดช่วงชีวิตที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน

3. อาการทางจิตปัจจุบันของผู้ป่วยที่มีอาการหลงผิด หวาดระแวง เสี่ยงต่อการก่อความรุนแรงต่อผู้อื่น

4. มีประวัติก่อคดีอาญารุนแรงตลอดชีวิตที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน (คดีความผิดต่อชีวิต ต่อร่างกาย และเกี่ยวกับเพศ)

 
หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aราย
นิยามของค่า Aจำนวนผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงก่อความรุนแรงได้รับการประเมิน บำบัดรักษาและติดตามดูแลช่วยเหลือตามระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 4 ครั้ง ภายใน 1 ปี หลังจำหน่าย
หน่วยของค่า Bราย
นิยามของค่า Bจำนวนผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงก่อความรุนแรงที่ได้รับการประเมิน การบำบัดรักษาและได้รับการจำหน่ายทั้งหมดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จากสถานบำบัดฟื้นฟูผู้เสพผู้ติดยาเสพติด ยกเว้น ถูกจับ เสียชีวิต หรือผู้ป่วยที่ได้รับ methadone maintenance treatment : MMT (เนื่องจากเป็นการดูแลต่อเนื่องไม่มีการจำหน่าย)
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมาย55
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย
ค่าเป้าหมาย55.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

รวบรวมข้อมูลการบำบัดรักษา จากการรายงานข้อมูลของหน่วยงานผู้ให้การบำบัดรักษา (สถานพยาบาล) จากฐานข้อมูลการบำบัดรักษายาเสพติดของประเทศ (บสต.) 

แหล่งข้อมูล

ฐานข้อมูลการบำบัดรักษายาเสพติดของประเทศ (บสต.) ซึ่งรายงานข้อมูลการบำบัดรักษาจากสถานพยาบาล  

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลทุก 3 เดือน
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2560

2561

2562

ร้อยละ 60 ของผู้ป่วยยาเสพติดกลุ่มเสี่ยงก่อความรุนแรงได้รับการประเมิน บาบัดรักษาและติดตามดูแลช่วยเหลือตามระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง

 

ร้อยละ (เฉลี่ย2ปี 59.37)

-

62.01

56.61

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

55

 

55

 

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

60

 

60

 

ปี 2565 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

65

 

65

 
วิธีการประเมินผล

สถานบำบัดผู้ป่วยยาเสพติดกลุ่มเสี่ยงก่อความรุนแรง จัดเก็บข้อมูลผู้ป่วยยาเสพติดและบันทึกรายงานในฐานข้อมูลบำบัดรักษายาเสพติดของประเทศ (บสต.) ประเมินผลโดย ศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงสาธารณสุข  

เกณฑ์การให้คะแนน

ระดับ 1                   ระดับ 2                         ระดับ 3                         ระดับ 4                            ระดับ 5

   45                          50                               55                                  60                                      65

เอกสารสนับสนุน

ฐานข้อมูลบำบัดรักษายาเสพติดของประเทศ (บสต.) และปรับปรุงนิยามจากเกณฑ์การคัดกรองผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง (SMI-V screening test) 

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1.นพ.อังกูร ภัทรากร ตำแหน่ง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ

สถานที่ทำงาน สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี

โทรศัพท์ที่ทำงาน : โทรศัพท์มือถือ : 086-3316106

2.นพ.บุรินทร์ สุรอรุณสัมฤทธิ์ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการ

สถานที่ทำงาน สำนักบริหารระบบบริการสุขภาพจิต

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5908007 โทรศัพท์มือถือ : 089-1403884

3.นพ.อัครพล คุรุศาสตรา ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการ

สถานที่ทำงาน สำนักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

4.นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ ตำแหน่ง รองผู้อานวยการ

สถานที่ทำงาน โรงพยาบาลธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 053-298080 โทรศัพท์มือถือ : 093-372732

5.นพ.ชลอวัฒน์ อินปา ตำแหน่ง นายแพทย์ชำนาญการ

สถานที่ทำงาน โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข  

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

-ศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงสาธารณสุข

-กองบริหารการสาธารณสุข

-กรมการแพทย์

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1.นางอุบล ศรีประเสริฐ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

สถานที่ทำงาน ศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงสาธารณสุข

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5902422 โทรสาร : 02-5901863

2.นาง อัจฉรา วิไลสกุลยง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

สถานที่ทางาน กองบริหารการสาธารณสุข

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901799 โทรสาร : 02-5901740

3. นางระเบียบ โตแก้ว พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ

สถานที่ทางาน สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5310080 ต่อ 398,399 

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-09-30 21:27:50
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>