ร้อยละของจังหวัดมีการขับเคลื่อนมาตรการยุติการใช้สารเคมีทางการเกษตรที่มีอันตรายสูงร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับส่วนกลาง และภูมิภาค อย่างน้อยจังหวัดละ 1 เรื่อง

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของจังหวัดมีการขับเคลื่อนมาตรการยุติการใช้สารเคมีทางการเกษตรที่มีอันตรายสูงร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับส่วนกลาง และภูมิภาค อย่างน้อยจังหวัดละ 1 เรื่อง
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2563
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่014
Sort Order0
คำนิยาม

สารเคมีทางการเกษตรที่มีอันตรายสูง หมายถึง สารเคมีทางการเกษตร 3 ชนิด ได้แก่ พาราควอต ไกลโฟเสต และคลอร์ไพริฟอส

การขับเคลื่อนมาตรการยุติการใช้สารเคมีทางการเกษตรที่มีอันตรายสูงในระดับส่วนภูมิภาค หมายถึง การดำเนินงานขับเคลื่อนมาตรการเพื่อยุติการใช้สารเคมีทางการเกษตรร่วมกันในระดับจังหวัด ผ่านกลไกของคณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัด 

หมายเหตุ

จังหวัด หมายถึง จังหวัดที่สามารถดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัด อย่างน้อยเขตสุขภาพละ 1 จังหวัด

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aจังหวัด
นิยามของค่า Aจำนวนจังหวัดมีการขับเคลื่อนมาตรการยุติการใช้สารเคมีทางการเกษตรที่มีอันตรายสูง อย่างน้อย 1 เรื่อง
หน่วยของค่า Bจังหวัด
นิยามของค่า Bจำนวนจังหวัดทั้งหมด (เขตสุขภาพละ 1 จังหวัด รวมเป็น12 จังหวัด)
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 100
ประชากรกลุ่มเป้าหมายหน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับมาตรการยุติการใช้สารเคมีทางการเกษตรในระดับจังหวัด
ค่าเป้าหมาย100.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ประสานและรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

แหล่งข้อมูล

หน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น สำนักงานเกษตรจังหวัด  สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด สำนักงานป้องกันควบคุมโรค สภาเกษตรกรในพื้นที่ ศูนย์อนามัย สำนักงานแรงงานจังหวัด สำนักงานประกันสังคมจังหวัด  กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลรายไตรมาส (1-4)
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2560

2561

2562

ร้อยละของจังหวัดมีการขับเคลื่อนมาตรการยุติการใช้สารเคมีทางการเกษตรที่มีอันตรายสูงร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับส่วนกลางและภูมิภาค

ร้อยละ

ตัวชี้วัดใหม่ ปี 2563

เกณฑ์การประเมินผล

เกณฑ์การประเมิน :

ปี 2561:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

-

-

-

-

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12เดือน

-

-

-

-

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ระดับส่วนกลาง

- ขับเคลื่อนกิจกรรมเพื่อสร้างกระแสสังคม

- จัดประชุมวิชาการ ร่วมกับหน่วยงานระดับ นโยบายในส่วนกลางเพื่อขับเคลื่อนการยุติการใช้สารเคมีทางการเกษตรที่มีอันตรายสูง

- จัดประชุมเพื่อชี้แจง ถ่ายทอด แนวทางการดำเนินงานภายใต้ พ.ร.บ.ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพฯ พ.ศ. 2562

 

  •  

- 2562

- ประสานและสนับสนุนจังหวัด ให้เสนอคำสั่งให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ลงนาม
เพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการฯ

 

ระดับส่วนกลาง

  •  
  •  

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  •  

-

  • จัดประชุมคณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัด เพื่อร่วมกันกำหนดมาตรการยุติการใช้สารเคมีทางการเกษตรที่มีอันตรายสูงของจังหวัด และจัดทำแผนขับเคลื่อนมาตรการฯ

ระดับส่วนกลาง

- ติดตาม ประเมินผล
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน ทั้งระดับส่วนกลางและระดับภูมิภาค

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ระดับส่วนภูมิภาค

 มีรายงานข้อมูลสถานการณ์เสนอต่อประธานคณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัด

- จัดประชุมคณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมจังหวัด เพื่อร่วมกันกำหนดมาตรการยุติการใช้สารเคมีทางการเกษตรที่มีอันตรายสูงของจังหวัด และจัดทำแผนขับเคลื่อนมาตรการฯ

 

 ระดับส่วนกลาง

- มีการรายงานและติดตามประเมินผลในภาพรวมของประเทศ

- มีการขับเคลื่อนมาตรการยุติการใช้สารเคมีทางการเกษตรที่มีอันตรายสูง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ระดับส่วนภูมิภาค

- มีการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนขับเคลื่อนมาตรการฯ และสรุปรายงานผลการดำเนินงานรายจังหวัด

- ร้อยละ 100 ของจังหวัด
มีการขับเคลื่อนมาตรการยุติการใช้สารเคมีทางการเกษตรที่มีอันตรายสูงร่วมกับเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
อย่างน้อย 1 เรื่อง

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2565:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

 

 

 

 

วิธีการประเมินผล

สสจ.รายงานผล ผ่านการรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข

ส่วนกลางประเมินเชิงคุณภาพ และจัดทำสรุปข้อมูลในภาพประเทศ 

เอกสารสนับสนุน

คู่มือการจัดตั้ง และแนวทางการคัดเลือกบุคคลเข้าเป็นคณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อมฯ สำหรับระดับจังหวัด และ กทม.

คู่มือการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่สำหรับการดูแลสุขภาพแรงงานนอกระบบ http://envocc.ddc.moph.go.th/contents/view/381

คู่มือสำหรับเกษตรกรและอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน http://envocc.ddc.moph.go.th/contents/view/126

คู่มือแรงงานนอกระบบ ปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ (กลุ่มอาชีพเกษตรกร) http://envocc.ddc.moph.go.th/contents/view/371

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

ดร.พญ.ชุลีกร  ธนธิติกร                       หัวหน้ากลุ่มพัฒนามาตรการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 3865           โทรศัพท์มือถือ : 081 880 6629

โทรสาร :  02 590 3866                E-mail : chuleekorn.md@gmail.com

กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. นายสำเริง สาลีวัฒนพงศ์กุล                     นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญ

                                                            การพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 3865           โทรศัพท์มือถือ : 094 159 2895

โทรสาร : 02 590 3866                E-mail : mr_samroengs@hotmail.com

กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

2. นางสาวปณัสต์ดา ทองคำ                  นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 3864           โทรศัพท์มือถือ : 082 957 7248

โทรสาร : 02 590 3864                 E-mail :  tongkam.june@gmail.com

กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นายสำเริง สาลีวัฒนพงศ์กุล                     นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญ

                                                            การพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 3865           โทรศัพท์มือถือ : 094 159 2895

โทรสาร : 02 590 3866                E-mail : mr_samroengs@hotmail.com

กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

2. นางสาวปณัสต์ดา ทองคำ                  นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 3864           โทรศัพท์มือถือ : 082 957 7248

โทรสาร : 02 590 3864                 E-mail :  tongkam.june@gmail.com

กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>