ระดับความสำเร็จในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหน่วยงานระดับจังหวัด

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหน่วยงานระดับจังหวัด
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2563
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่012
Sort Order0
คำนิยาม

ระดับความสำเร็จในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหน่วยงานระดับจังหวัด

หมายถึง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สามารถดำเนินการตามเกณฑ์ที่กำหนดในขั้นตอนที่ 1 - 5

ภัยสุขภาพ หมายถึง สถานการณ์ สภาวการณ์หรือเหตุการณ์สาธารณภัยที่เกิดขึ้นและก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ การเสียชีวิต การบาดเจ็บ หรือการเจ็บป่วย หมายรวมถึงเกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สิน กระทบกระเทือนต่อขีดความสามารถในการปฏิบัติงานตามปกติของบุคคล

ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข(Public Health Emergency Operations Center : PHEOC) หมายถึง สถานที่ซึ่งเป็นศูนย์กลางในการปฏิบัติงานร่วมกันของกลุ่มภารกิจต่างๆ ภายใต้ระบบบัญชาการเหตุการณ์ เพื่ออำนวยการ สั่งการ ประสานงาน สนับสนุนการบริหาร แลกเปลี่ยนข้อมูล จัดสรรและกระจายทรัพยากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขให้เกิดขึ้นอย่างสะดวกรวดเร็วในภาวะฉุกเฉิน ในที่นี้นอกเหนือจากจะหมายถึงห้องทำงานและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงานแล้ว ยังหมายรวมถึงระบบงาน และบุคลากรที่ร่วมปฏิบัติงานในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขด้วย

All Hazards Plan (AHP) หมายถึง แผนเตรียมความพร้อมที่เตรียมไว้เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉินที่ครอบคลุมทุกโรคและภัยสุขภาพ สำหรับหน่วยงานและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติเตรียมความพร้อม และนำไปใช้ในการจัดการภาวะฉุกเฉินได้ทันต่อสถานการณ์และมีประสิทธิภาพ

Hazard Specific Plan (HSP) หมายถึง แผนที่เตรียมไว้ล่วงหน้าสำหรับการตอบโต้สถานการณ์โรค หรือภัยสุขภาพที่จำเพาะที่เป็นภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขเช่น แผนรับมือโรคไข้หวัดนก โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือโรคเมอร์ส แผนการจัดการโรคและภัยสุขภาพที่เกิดจากน้ำท่วม เป็นต้น

Incident Action Plan (IAP) หมายถึง แผนเผชิญเหตุที่ถูกจัดทำในขณะเกิดเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุขสำหรับแต่ละห้วงเวลา

ปฏิบัติการ ซึ่งประกอบด้วย วัตถุประสงค์ เป้าหมายการปฏิบัติการ ห้วงระยะเวลาปฏิบัติการ ยุทธศาสตร์ และกลวิธีการปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน รวมทั้งหน่วยงานที่นำไปปฏิบัติ

ระบบ Web EOC (Web Emergency Operation Center) หมายถึง ระบบบริหารทรัพยากรเพื่อรองรับการสั่งการในภาวะฉุกเฉินภายใต้ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (Incident Command System: ICS) และเป็น Data Center สำหรับศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข (PHEOC)

EOC Assessment Toolหมายถึง แบบประเมินระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ซึ่งประกอบด้วยตัวชี้วัด 10 หมวด 74 ตัวชี้วัด

จังหวัด หมายถึง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด จำนวน 76 จังหวัด

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aจังหวัด
นิยามของค่า Aจำนวนจังหวัด ที่ดำเนินการครบ 5 ขั้นตอน
หน่วยของค่า Bจังหวัด
นิยามของค่า Bจำนวนจังหวัดทั้งหมด 76 จังหวัด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 50 (38 จังหวัด)
ประชากรกลุ่มเป้าหมายสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด จำนวน 76 จังหวัด
ค่าเป้าหมาย50.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

กองสาธารณสุขฉุกเฉินประสานและรวบรวมข้อมูลผลการดำเนินงานจาก 76 จังหวัด

แหล่งข้อมูล

ข้อมูลจากผลการดำเนินงานระดับจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 2 3 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ

2560

2561

2562

ระดับความสำเร็จในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหน่วยงานระดับจังหวัด

ระดับ

ตัวชี้วัดใหม่ ปี 2563

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2560 - 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

ขั้นตอนที่ 1 

ขั้นตอนที่ 2 - 4

ขั้นตอนที่ 5

 
วิธีการประเมินผล

ปี 2563 นับจำนวนจังหวัดที่สามารถดำเนินการได้ทั้ง 5 ขั้นโดยแบ่งการแประเมินผลดังนี้

          ไตรมาสที่ 2 (รอบ 6 เดือน) ทุกหน่วยงานดำเนินการได้ตามขั้นตอนที่ 1 

          ไตรมาสที่ 3 (รอบ 9 เดือน) ทุกหน่วยงานดำเนินการได้ตามขั้นตอนที่ 2 - 4

          ไตรมาสที่ 4 (รอบ 12 เดือน) ทุกหน่วยงานดำเนินการได้ตามขั้นตอนที่ 5

ขั้นตอนที่                                      รายละเอียดการดำเนินงาน                                       เอกสาร/หลักฐานประกอบการประเมินผล

    1                                              ปรับปรุงโครงสร้างระบบ                                               1. คำสั่งมอบหมายงานการแพทย์ฉุกเฉินและสาธารณภัยและมีผู้รับผิดชอบชัดเจน หรือคำสั่งจัดตั้งโครงสร้างกลุ่มงานการแพทย์ฉุกเฉินและสาธารณภัยใน สสจ.

                                 บัญชาการเหตุการณ์ (ICS) ของจังหวัด ให้เป็นปัจจุบัน                       2. ผังโครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) ที่ระบุบุคคลและแนวทางการปฏิบัติ (SOP) ของแต่ละกล่องภารกิจ

 

   2                           จัดทำแผนเผชิญเหตุ (Incident Action Plan: IAP)                             แผนเผชิญเหตุ(Incident Action Plan: IAP) กรณี โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

  กรณี โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

    3                           พัฒนาศักยภาพบุคลากรตามโครงสร้างระบบบัญชาการ                    รายชื่อบุคลากรตามโครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์ที่เป็นระดับหัวหน้ากล่องภารกิจหลัก 

                                 เหตุการณ์ที่เป็นระดับหัวหน้ากล่องภารกิจหลัก  ครบทุกคน               ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรระบบบัญชาการเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (ICS 100) 

                                 และผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้ที่ระดับคะแนน (Post Test)           หรือหลักสูตร Disaster Managementอื่น ๆ ที่มีมาตรฐานเทียบเท่า FEMA/CDC/WHO หรือ 

                                 ร้อยละ 80                                                                                  เรียนรู้ด้วยตนเองทางระบบ E-learning และสอบผ่านตามเกณฑ์

                                 หมายเหตุ :

                                1. กรมควบคุมโรค โดย กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะ

                                ฉุกเฉิน เป็นผู้จัดอบรมหลักสูตร ICS สำหรับผู้บริหาร และ

                                หัวหน้ากล่องภารกิจ

                                2. บุคลากรตามโครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์ที่เป็นระดับ

                                หัวหน้ากล่องภารกิจหลัก สามารถเรียนรู้หลักสูตรระบบบัญชาการ

                                เหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (ICS 100) ด้วยตนเอง

                                ทางระบบ E-learning จากเว็บไซต์กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

                                ในภาวะฉุกเฉิน

                                3. บุคลากรตามข้อ 2 หมายถึง บุคลากรที่ยังไม่ผ่านการอบรม

                                หลักสูตรระบบบัญชาการเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

                                (ICS 100) หรือหลักสูตร Disaster Management อื่น ๆ ที่มี

                                มาตรฐานเทียบเท่า

   4                           ประเมินมาตรฐานของศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และ            รายงานผลการประเมินตนเองของศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข 

                                 สาธารณสุขด้วยการประเมินตนเองโดยใช้แบบประเมิน                         ตามแบบประเมินEOC Assessment Tool

                                 EOC Assessment Tool

                                 หมายเหตุ

                                 มาตรฐานตาม EOC Assessment tool สามารถศึกษารายละเอียด       

                                 ได้จากเว็บไซต์กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน

                                 กรมควบคุมโรค

      5                        นำระบบการบัญชาการเหตุการณ์                                                           1. รายงานผลการดำเนินการตามข้อสั่งการของศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และ

ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข (ICS) มาใช้ในการตอบโต้                                       สาธารณสุข (Public Health Emergency Operation Center; PHEOC)

ภาวะฉุกเฉินระดับจังหวัด กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)                                2. รายงานทรัพยากรในกลุ่มเวชภัณฑ์ยาและที่ไม่ใช่ยาระดับจังหวัดตามข้อสั่งการของศูนย์ปฏิบัติ  ในระดับจังหวัดและจัดทำรายการทรัพยากรในกลุ่มเวชภัณฑ์ยาและ                                           การฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข (Public Health Emergency Operation Center; 

 

ที่ไม่ใช่ยาระดับจังหวัดที่ใช้ในการตอบสนองภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข               PHEOC) กรณีโรคติดเชื้อไวรัส

 

เอกสารสนับสนุน

หนังสือกรอบแนวทางการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินและระบบบัญชาการเหตุการณ์ในภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข กรมควบคุมโรค พ.ศ. 2559-2564 (ฉบับปรับปรุง)

คู่มือพัฒนาการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระบบบัญชาการเหตุการณ์ และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข กรมควบคุมโรค

พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 และอนุบัญญัติที่เกี่ยวข้อง

เว็บไซต์ https://ddc.moph.go.th/eoc/

คู่มือศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข กองสาธารณสุขฉุกเฉิน

คู่มือการใช้งานระบบ WEB EOC สำหรับศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข

แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2558

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ

ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขฉุกเฉิน (กสธฉ.) สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :02 5901771        โทรศัพท์มือถือ : 084 555 1771

2. ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน (ครฉ.) กรมควบคุมโรค

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :02 5903155        โทรศัพท์มือถือ : 082 658 4885

3. นายแพทย์ประกิจ สาระเทพ              นายแพทย์เชี่ยวชาญด้านเวชกรรมป้องกัน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 1771       โทรศัพท์มือถือ : 081 914 7827

    โทรสาร : 02 590 1771                   E-mail : p.sarathep@gmail.com

4. แพทย์หญิงอลิสา ยาณะสาร               นายแพทย์ชำนาญการ (กสธฉ.)

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590 1771       โทรศัพท์มือถือ : 087 807 7363

    โทรสาร : 02 590 1771                   E-mail : yanasan.a@gmail.com

5. นายแพทย์เจษฎา ธนกิจเจริญกุล         นายแพทย์ชำนาญการ (ครฉ.)

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 5903238        โทรศัพท์มือถือ : 094195 4253

    โทรสาร : 02590 3238                    E-mail : jessada.tha@gmail.com

6. นายแพทย์รัฐพงษ์ บุรีวงษ์                 นายแพทย์ชำนาญการ (ครฉ.)
    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903238        โทรศัพท์มือถือ : 0865694886

    โทรสาร : 02-590 3238                   E-mailrattapong.b.@gmail.com

7. นางอัญชลี สิทธิชัยรัตน์                     นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ  (ครฉ.)

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590 3159       โทรศัพท์มือถือ : 081 356 1791

    โทรสาร : 02-588 3767                 E-mail : un_run@yahoo.com

ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นางสุรีรัตน์ ใจดี                             นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ (กสธฉ.)

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901771        โทรศัพท์มือถือ : 094 628 9907

     โทรสาร : 02-590 1771                E-mail : sureeratdee@hotmail.com

2. นายสกล  ลิจุติภูมิ                           นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ (กสธฉ.)

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901771        โทรศัพท์มือถือ : 086 032 3860

โทรสาร : 02590 1771                   E-mail : -

3. นางสาวกษมา นับถือดี                      นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ(ครฉ.)

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903246        โทรศัพท์มือถือ : 084 527 0939

    โทรสาร : 02-590 3246                 E-mail : pheplan2018@gmail.com

4. นางสาวกิรณา เทวอักษร                    นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ (กสธฉ.)

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901353        โทรศัพท์มือถือ : 081 499 6892

    โทรสาร : 02-590 1771                 E-mail : pheoc_stag@gmail.com

5. นางสาววรารัตน์ ทุนทรัพย์                  นักวิชาการสาธารณสุข (กสธฉ.)

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 590 1353      โทรศัพท์มือถือ : 097 054 6919

    โทรสาร : 02 590 3246     E-mail : wararat32thunnasap.32@gmail.com

 

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค      

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. น.ส.ณัฐชญา น้อยยา                      นักวิชาการสาธารณสุข (กสธฉ.)
    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901771 ต่อ 910 โทรศัพท์มือถือ : 0888948600

    โทรสาร : 02-590 1771                  E-mail : natchaya.n58@gmail.com

2. นายสุบรรณ   สิงห์โต นักวิชาการสาธารณสุข (กสธฉ.)
    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901934        โทรศัพท์มือถือ : 087 254 5261

    โทรสาร : 02-590 1771                 E-mail : tumsingto23@gmail.com

3. น.ส.วริศรา    มงคลตระกูลสุข            นักวิชาการสาธารณสุข (กสธฉ.)
    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901771 ต่อ 906 โทรศัพท์มือถือ : 0875390753

    โทรสาร : 02-590 1771        E-mail : waritsara_aoom@hotmail.com

4. น.ส.ปูริดา     แก้วเกษศรี                 นักวิชาการสาธารณสุข (กสธฉ.)
    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901771ต่อ 906  โทรศัพท์มือถือ : 0852463990

    โทรสาร : 02-590 1771                 E-mail : purida.kaew@gmail.com

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>