ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2560
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่014
Sort Order0
คำนิยาม

ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operations Center, EOC) หมายถึง สถานที่ที่ใช้ในการปฏิบัติงานร่วมกันของกลุ่มภารกิจต่างๆ ภายใต้ระบบบัญชาการเหตุการณ์ เพื่อสนับสนุนการบริหารสั่งการ ประสานงาน แลกเปลี่ยนข้อมูล และทรัพยากรให้เกิดขึ้นอย่างสะดวกรวดเร็วในภาวะฉุกเฉิน ในที่นี้นอกเหนือจากจะหมายถึงห้องทำงานและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงานแล้ว ยังหมายรวมถึงระบบงาน และบุคลากรที่ร่วมปฏิบัติงานในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้วย

ทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (Situation Awareness Team: SAT) หมายถึง ทีมปฏิบัติการที่มีความสามารถในการรวบรวมข้อมูล เพื่อติดตาม ตรวจจับ และประเมินสถานการณ์ พร้อมทั้งแจ้งเตือนแก่ผู้บริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาตอบสนองต่อสถานการณ์นั้นๆ

Incident Action Plan (IAP) หมายถึง แผนปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ที่กำหนดขึ้นโดยผู้บัญชาการเหตุการณ์ร่วมกับกลุ่มยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบบัญชาการเหตุการณ์ ที่กำหนดเป้าหมาย ระยะเวลา ยุทธศาสตร์ และวิธีการปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน รวมทั้งหน่วยงานที่นำไปปฏิบัติ

จังหวัด ได้แก่ จังหวัดในประเทศไทย จำนวน 77 จังหวัด

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aจังหวัด
นิยามของค่า Aจำนวนจังหวัดที่มี EOC และ SAT ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง
หน่วยของค่า Bจังหวัด
นิยามของค่า Bจำนวนจังหวัดทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 80
ประชากรกลุ่มเป้าหมายจังหวัดทุกจังหวัด
ค่าเป้าหมาย80.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

รวบรวมข้อมูลจากผลการดำเนินงานระดับจังหวัด

แหล่งข้อมูล

ข้อมูลจากผลการดำเนินงานระดับจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tagsสตป.
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1,2,3 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

ร้อยละ 80 ของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง

ร้อยละ

-

-

-

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2560 - 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ขั้นตอนที่ 1

ขั้นตอนที่ 2 และ 3

ขั้นตอนที่ 4

ขั้นตอนที่ 5

 
วิธีการประเมินผล

วิธีการประเมินผล :

ปี 2560 ทุกหน่วยงานดำเนินการตามขั้นตอนที่ 5 ได้ (ร้อยละ 80)

ขั้นตอนที่ 1 - 5 สามารถดำเนินการไปพร้อมๆ กันได้ ตั้งแต่เริ่มต้นปีงบประมาณ โดย

          ไตรมาสที่ 1 (รอบ 3 เดือน)    ทุกหน่วยงานดำเนินการตามขั้นตอนที่ 1 ได้

          ไตรมาสที่ 2 (รอบ 6 เดือน)    ทุกหน่วยงานดำเนินการตามขั้นตอนที่ 2 และ 3 ได้

          ไตรมาสที่ 3 (รอบ 9 เดือน)    ทุกหน่วยงานดำเนินการตามขั้นตอนที่ 4 ได้

          ไตรมาสที่ 4 (รอบ 12 เดือน)  ทุกหน่วยงานดำเนินการตามขั้นตอนที่ 5 ได้

(ร้อยละ 80)

ปี 2561 ทุกหน่วยงานดำเนินการตามขั้นตอนที่ 5 ได้ (ร้อยละ 85)

ปี 2562 ทุกหน่วยงานดำเนินการตามขั้นตอนที่ 5 ได้ (ร้อยละ 90)

ปี 2563 ทุกหน่วยงานดำเนินการตามขั้นตอนที่ 5 ได้ (ร้อยละ 95)

ปี 2564 ทุกหน่วยงานดำเนินการตามขั้นตอนที่ 5 ได้ (ร้อยละ 100)

   ระดับ 1       ระดับ 2        ระดับ 3        ระดับ 4       ระดับ 5

 ร้อยละ 70    ร้อยละ 75      ร้อยละ 80     ร้อยละ 85     ร้อยละ 90

ขั้นตอนที่               รายละเอียดการดำเนินงาน                   เอกสาร/หลักฐานประกอบการประเมินผล

1                   จัดทำโครงสร้างระบบบัญชาการเหตุการณ์       - หลักฐานคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตามระบบ

                     ฉุกเฉินทางสาธารณสุข รองรับศูนย์ปฏิบัติการ     บัญชาการเหตุการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุข

                     ภาวะฉุกเฉิน (EOC) และจัดทีมตระหนักรู้           และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) 

                     สถานการณ์ (SAT) ระดับจังหวัด                      ระดับจังหวัด 

                                                                                  - หลักฐานคำสั่งแต่งตั้งทีมตระหนักรู้

                                                                                     สถานการณ์ (SAT) ระดับจังหวัด

2                   จัดเตรียมสถานที่ และอุปกรณ์ตาม                 - สถานที่และอุปกรณ์สำหรับการเปิดศูนย์

                     ความเหมาะสมเพื่อรองรับการเปิดศูนย์              ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) กรณีเกิดภาวะฉุกเฉิน

                     ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) กรณีเกิด             ทางสาธารณสุขในพื้นที่จังหวัด

                     ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในพื้นที่

                     จังหวัด

3                   สมาชิกทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT)          - รายชื่อผู้รับการชี้แจงและอบรมการปฏิบัติงานขั้นพื้นฐาน

                     ระดับจังหวัดได้รับการชี้แจงแนวทางการ

                     ปฏิบัติงานและอบรมขั้นพื้นฐาน

4                    การซ้อมแผนเพื่อเปิดศูนย์ปฏิบัติการ             - มีรายงานผลการซ้อมแผนเพื่อเปิดศูนย์ปฏิบัติการ 

                      ภาวะฉุกเฉิน (EOC) ระดับจังหวัด และ             ภาวะฉุกเฉิน (EOC) ระดับจังหวัด

                      มีการเริ่มปฏิบัติงานของทีมตระหนักรู้            - มีรายงานประเมินสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพพื้นที่จังหวัด

                      สถานการณ์ (SAT) โดยประเมินสถานการณ์

                      โรคและภัยสุขภาพพื้นที่จังหวัด

5                    จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC)    - มี Incident Action Plan (IAP) ของเหตุการณ์

                      และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT)              ที่สำคัญที่อาจเกิดขึ้นในจังหวัด เพื่อรองรับ

                      ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง                           การเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC)

                                                                                   โดยกำหนดวิธีปฏิบัติการ พร้อมทั้งข้อสั่งการ

                                                                                   ไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

 

เอกสารสนับสนุน

1. หนังสือกรอบแนวทางการพัฒนาศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินและระบบบัญชาการ

    เหตุการณ์ในภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข กรมควบคุมโรค พ.ศ. 2559-2564

2. คู่มือพัฒนาการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระบบบัญชาการเหตุการณ์ และศูนย์  

    ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข กรมควบคุมโรค

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. น.พ.ธนรักษ์  ผลิพัฒน์                     ผู้อำนวยการสำนักระบาดวิทยา             

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901776       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5901784                  E-mail : kepidem@gmail.com

2. น.พ.เจษฎา  ธนกิจเจริญกุล               นายแพทย์ชำนาญการ                       

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901793       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5901784                 E-mail : jessajezzy@hotmail.com

3. น.ส.ประภาศรี  สามใจ                    นักวิชาการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901793       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5901784                 E-mail : Pat172012@gmail.com

4. น.ส.วัชราภรณ์  ยุบลเขต                  นักวิชาการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901793       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5901784                 E-mail : aun-aun-@hotmail.com

5. น.ส.วรรณี  ศรีสุข                           นักวิชาการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901793       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5901784                 E-mail : ta-liw-o@hotmail.com

โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. น.พ.เจษฎา  ธนกิจเจริญกุล               นายแพทย์ชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901793       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5901784                 E-mail : jessajezzy@hotmail.com

2. น.ส.ประภาศรี  สามใจ                    นักวิชาการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901793       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5901784                 E-mail : Pat172012@gmail.com

3. น.ส.วัชราภรณ์  ยุบลเขต                  นักวิชาการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901793       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5901784                 E-mail : aun-aun-@hotmail.com

4. น.ส.วรรณี  ศรีสุข                          นักวิชาการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901793       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5901784                 E-mail : ta-liw-o@hotmail.com

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>