ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2563
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่005
Sort Order0
คำนิยาม

เด็ก หมายถึง เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 6 ปี จนถึง 14 ปี  (โดยเริ่มนับตั้งแต่อายุ 6 ปีเต็ม – 14 ปี 11 เดือน 29 วัน)

โรงเรียนระดับประถมศึกษาทุกสังกัด หมายถึง โรงเรียนระดับประถมศึกษาหรือโรงเรียนระดับประถมศึกษาขยายโอกาส  และมัธยมศึกษา (มัธยมศึกษาตอนต้น ม.1-ม.3)

สูงดีสมส่วน หมายถึง  เด็กที่มีส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ขึ้นไป และมีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน (ในคนเดียวกัน)

สูงดี หมายถึง เด็กที่มีส่วนสูงอยู่ในระดับสูงตามเกณฑ์ขึ้นไป เมื่อเทียบกับกราฟการเจริญเติบโต กรมอนามัย ปี 2542  มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ -1.5 S.D. ของส่วนสูง      ตามเกณฑ์อายุ

สมส่วน หมายถึง เด็กที่มีน้ำหนักอยู่ในระดับสมส่วน เมื่อเทียบกราฟการเจริญเติบโต   กรมอนามัย ปี 2542 มีค่าระหว่าง +1.5 S.D. ถึง-1.5 S.D. ของน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง)

ภาวะผอม หมายถึง น้ำหนักของเด็กเมื่อเทียบกับเกณฑ์ส่วนสูงเดียวกัน มีค่าต่ำกว่า  –2 S.D. แสดงว่าเด็กมีน้ำหนักน้อยกว่าเด็กที่มีส่วนสูงเดียวกัน

ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน หมายถึง  น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง > + 2 S.D. ขึ้นไปโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของกรมอนามัย ปี 2542   

ภาวะเตี้ย หมายถึง ส่วนสูงของเด็กเมื่อเทียบกับเกณฑ์อายุเดียวกัน มีค่าต่ำกว่า – 2 S.D.

ส่วนสูงเฉลี่ย หมายถึง ค่าเฉลี่ยของส่วนสูงในเด็กชายและเด็กหญิง อายุ 12 ปี (เด็กอายุ 12 ปีเต็ม ถึง 12 ปี 11 เดือน 29 วัน)  

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aจำนวนเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bจำนวนเด็กอายุ 6-14 ปีที่ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 66
ประชากรกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 6-14 ปี ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาทุกสังกัด (มัธยมศึกษาตอนต้น ม.1-ม.3 )
ค่าเป้าหมาย66.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

ระบบฐานข้อมูล 43 แฟ้ม กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข

แหล่งข้อมูล

ระบบรายงาน HDC กองยุทธศาสตร์และแผนงาน และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ข้อมูลจากแฟ้ม Nutrition (ไม่รวมเด็กป่วยที่มารับบริการ)

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญใช่
ตัวชี้วัด Area Baseใช่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลวิเคราะห์และสรุปผล ปีละ 2 ครั้ง โดยจัดเก็บข้อมูล 2 ภาคเรียน คือ : ภาคเรียนที่ 1 (ปีการศึกษา 2563) พื้นที่ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และลงข้อมูล เดือน ก.ค., ส.ค., 15 ก.ย. ส่วนกลางจะตัดข้อมูลรายงาน ณ วันที่ 30 ก.ย. ภาคเรียนที่ 2 (ปีการศึกษา 2562) พื้นที่ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และลงข้อมูล เดือน ต.ค., พ.ย., ธ.ค., ม.ค. ส่วนกลางจะตัดข้อมูลรายงาน ณ วันที่ 15 ก.พ.
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2560

2561

2562

เด็กอายุ 6-14 ปี        สูงดีสมส่วน

ร้อยละ

65.2

65.5

61.5

เด็กอายุ 6-14 ปี ผอม

ร้อยละ

5.0

4.7

5.1

เด็กอายุ 6-14 ปี  เริ่มอ้วนและอ้วน

ร้อยละ

11.1

11.8

13.6

เด็กอายุ 6-14 ปี

เตี้ย

ร้อยละ

5.1

5.7

8.9

ส่วนสูงเฉลี่ยอายุ    12 ปี* วัดผลที่ปี 2565

 

เซนติเมตร

 

-

-

ชาย = 147.7

หญิง =148.9

 
หมายเหตุ : ข้อมูลระบบรายงาน HDC กระทรวงสาธารณสุข
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

66

 

66

 

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

67

 

67

 

 

 

 

ปี 2565:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

68

 

68

 

             

 

 

การกระจายค่าเป้าหมายรายเขตสุขภาพ ร้อยละเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน

เขตสุขภาพ

ค่าเป้าหมายปี 2563

เขต 1 เชียงใหม่

63

เขต 2 พิษณุโลก

65

เขต 3 นครสวรรค์

62

เขต 4 สระบุรี

66

เขต 5 ราชบุรี

64

เขต 6 ชลบุรี

67

เขต 7 ขอนแก่น

72

เขต 8 อุดรธานี

66

เขต 9 นครราชสีมา

68

เขต 10 อุบลราชธานี

69

เขต 11 นครศรีธรรมราช

67

เขต 12 ยะลา

64

 

วิธีการประเมินผล

1.จังหวัดมีการดำเนินงานดังนี้

   1.1 จัดตั้งคณะทำงานระดับจังหวัด โดยมี PM ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ ขับเคลื่อนงานส่งเสริมและจัดการปัญหาสุขภาพเด็กวัยเรียนในพื้นที่

   1.2 จัดทำแผนปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมและจัดการปัญหาสุขภาพเด็กวัยเรียน เน้นการส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน การป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ (อ้วน ผอม เตี้ย) โดยติดตาม ควบคุม กำกับและประเมินผลเป็นรายเดือน รวมทั้งส่งเสริมให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ในภาพรวม       

         - ผลักดันและพัฒนาให้มีโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยเน้นด้านโภชนาการ กิจกรรมทางกาย และทันตสุขภาพ

         - ผลักดันและพัฒนาให้มีโรงเรียนต้นแบบด้านโภชนาการ กิจกรรมทางกาย และ    ทันตสุขภาพ ภายใต้ความรอบรู้ด้านสุขภาพ จังหวัดละ 3-5 โรงเรียน  

         - พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายระดับพื้นที่เพื่อส่งเสริมและจัดการปัญหาสุขภาพ  เด็กวัยเรียน เน้นการจัดการปัญหาภาวะทุพโภชนาการ (อ้วน ผอม เตี้ย) ตาม AAIM     เด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน (รายละเอียดแนบท้าย)

         - จัดกิจกรรมรณรงค์ ส่งเสริมความรอบรู้สุขภาพของเด็กวัยเรียน เพื่อนำไปสู่พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ กิจกรรมทางกาย ทันตสุขภาพ และสุขอนามัย จำนวน 12 เรื่อง/ปี เช่น รณรงค์ดื่มนมจืด ปีละ 2 ครั้ง ในวันเด็กแห่งชาติ

และวันดื่มนมโลก กระโดดโลดเต้นเล่นสนุก สายตา สุขภาพช่องปาก

    1.3 ติดตาม ควบคุม กำกับให้หน่วยงานในพื้นที่รับผิดชอบรายงานข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการในระบบรายงาน HDC ให้เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนดใน Template   ปีละ 2 ครั้ง พร้อมทั้งตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลและให้มีความครอบคลุมเพิ่มขึ้น ดังนี้

       ภาคเรียนที่ 1 (ปีการศึกษา 2563)

                         พื้นที่ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และลงข้อมูล เดือน ก.ค., ส.ค., 15 ก.ย.        

                         ส่วนกลางจะตัดข้อมูลรายงาน ณ วันที่ 30 ก.ย.

       ภาคเรียนที่ 2  (ปีการศึกษา 2562)

                         พื้นที่ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และลงข้อมูล เดือน ต.ค., พ.ย., ธ.ค., ม.ค.

                         ส่วนกลางจะตัดข้อมูลรายงาน ณ วันที่ 15 ก.พ.

    1.4 รวบรวม สรุปและรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดส่งศูนย์อนามัยเขต              ตามระยะเวลาที่กำหนด

2. ศูนย์อนามัยมีการดำเนินงานดังนี้

      2.1 ตรวจสอบคุณภาพของข้อมูล ความครอบคลุมภาวะโภชนาการและเทียบเคียงกับค่าเป้าหมายในระบบรายงาน HDC

      2.2 รายงานผลการดำเนินงานส่งส่วนกลาง รายไตรมาส

เอกสารสนับสนุน

1.ชุดความรู้เพื่อการดูแลสุขภาพเด็กวัยเรียนแบบองค์รวม (NuPETHS)

E-book  : http://nutrition.anamai.moph.go.th/download/NuPETHS/index.html

PDF  :http://nutrition.anamai.moph.go.th/images/files/NuPETHS3.pdf

2.สื่อ NuPETHS Animation

3.แผ่นพับโภชนาการดี สูงดีสมส่วน

4.แผ่นพับส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยเรียนวัยรุ่น สูงดีสมส่วน ไม่อ้วน ผอม เตี้ย

5.แนวทางการคัดกรอง ส่งต่อ เด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงในสถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุขและคลินิก DPAC

6.คู่มือนักจัดการน้ำหนักเด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher)

7.แนวทางการควบคุมป้องกันภาวะอ้วนในเด็กนักเรียน

8.หนังสืออยากผอม...มาลองทำดู “ดูแลหุ่นสวยด้วยตัวเอง”สำหรับเด็กวัยเรียนและวัยใส

9.หนังสือผักผลไม้สีรุ้ง

10.หนังสือเมนุผักกุ๊กน้อย 4 ภาค

11.หนังสือเมนูไข่สำหรับอาหารกลางวันนักเรียน

12คู่มือสมัครรับรางวัลองค์กรที่มีวิธีปฏิบัติเป็นเลิศ และองค์กรรอบรู้สุขภาพ ด้านการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อเด็กไทย สูง สมส่วน แข็งแรง IQ EQ ดี

13.วีดีทัศน์การส่งเสริมเด็กไทยสูงดี สมส่วน แข็งแรง ด้วยกิจกรรมทางกาย อาหาร และการนอนหลับ

14.วีดีทัศน์ แผ่นพับ โปสเตอร์ โรลอัพ (Rollup) ส่งเสริมการออกกำลังกาย

       จิงโจ้ FUN for FIT แอโรบิกท้าฝัน ,จิงโจ้ยืดตัว ชุดที่ 1,2  และ ลดโรคเพิ่มสุขกับ

       นวัตกรรมออกกำลังกายเก้าอี้ขยี้พุง

15.ฉากป้าย แบคดรอป (Backdrop)

       ลดโรคเพิ่มสุขกับนวัตกรรมออกกำลังกายเก้าอี้…ขยี้พุง ,ป่วยแน่…ถ้าเนือยนิ่ง PA

      หยุดป่วย…หยุดแก่, โชป้า แอนด์ ชายด์ป้า เกมส์ ลดเรียน เพิ่มรู้ สู่อาเซียน ,จิงโจ้

       FUN for FIT  และจิงโจ้ยืดตัว ชุดที่ 1,2

16.สื่อเสริมสร้างความฉลาดทางการเคลื่อนไหว  www.chopachipa.org

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1.นางสาวพรวิภา  ดาวดวง                   ตำแหน่ง : นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904334         โทรศัพท์มือถือ :  -

โทรสาร : 02-5904339                    E-mail : pornwipa.dd@anamai.mail.go.th

กลุ่มส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยเรียน  สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

2.ดร.นภัสบงกช ศุภะพิชน์                   ตำแหน่ง : นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904591      โทรศัพท์มือถือ :  -

โทรสาร : 02-5904584                      E-mail : suppich_2@hotmail.com

กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีกิจกรรมทางกายวัยเรียนและวัยรุ่น กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข

กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ สำนักโภชนาการ กรมอนามัย   02-5904336

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1.นางสาวใจรัก ลอยสงเคราะห์            ตำแหน่ง : นักโภชนาการปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904334          โทรศัพท์มือถือ :  -

โทรสาร : 02-5904339                    E-mail : jairakloysongkroa@gmail.com

2.นางสาวนฤมล  ธนเจริญวัชร             ตำแหน่ง : นักโภชนาการปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904329         โทรศัพท์มือถือ :  -

โทรสาร : 02-5904339                     E-mail : plafishy11@gmail.com

กลุ่มส่งเสริมโภชนาการเด็กวัยเรียน  สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

3. นางสาวสุรีย์รัตน์ พิพัฒน์จารุกิตติ์      ตำแหน่ง : นักโภชนาการปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904336          โทรศัพท์มือถือ :  -

โทรสาร : 02-5904339                     E-mail : sureerat.pi@anamai.mail.go.th

กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ สำนักโภชนาการ กรมอนามัย

4. นางสาวขนิษฐา ระโหฐาน               ตำแหน่ง : นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904590          โทรศัพท์มือถือ :  -

โทรสาร : 02-5904584                    E-mail : got_achi@hotmail.com

กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีกิจกรรมทางกายวัยเรียนและวัยรุ่น กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base-
Areabase Kpi Regioncode-
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>