ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2560
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่012
Sort Order0
คำนิยาม

- มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ หมายถึง มีการดำเนินงานครบองค์ประกอบ 7 ข้อ ดังนี้

        1. มีระบบการประเมินคัดกรองปัญหาสุขภาพ และมีข้อมูลผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือระยะยาว

        2. มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ

        3. มีผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care manager) ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) หรืออาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ

        4. มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ (Home Health Care) จากสถานบริการสู่ชุมชน โดยบุคลากรสาธารณสุขและทีมสหสาขาวิชาชีพ

        5. มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล

        6. มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ กลุ่มติดบ้าน  กลุ่มติดเตียง  โดยท้องถิ่น ชุมชนมีส่วนร่วมและมีแผนการดูแลผู้สูงอายุรายบุคคล (Care plan)

        7. มีคณะกรรมการบริหารจัดการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน หรือคณะกรรมการกองทุนตำบล

หมายเหตุ: ผ่านเกณฑ์ หมายถึง ผ่านองค์ประกอบทุกข้อ

  • ชมรมผู้สูงอายุที่ผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ หมายถึง ชมรมผู้สูงอายุที่อยู่ในพื้นที่ตำบล Long Term Care                                            และผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ
  • มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล หมายถึง มีการจัดบริการป้องกันโรคในช่องปากตามชุดสิทธิประโยชน์                                  ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หรือ สนับสนุนการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากในชมรมผู้สูงอายุที่ดำเนินการ                                 โดยแกนนำชมรมผู้สูงอายุหรือ อสม.

 

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aตำบล
นิยามของค่า Aจำนวนตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์
หน่วยของค่า Bตำบล
นิยามของค่า Bจำนวนตำบลทั้งหมดที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบล Long Term Care
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 50
ประชากรกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุทุกคนทั่วประเทศ ดำเนินการทุกจังหวัด ทุกอำเภอทั่วประเทศ
ค่าเป้าหมาย50.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. พื้นที่/จังหวัด รายงานทาง E-mail หรือ ส่งข้อมูลผ่านศูนย์อนามัยเขต

2. ศูนย์อนามัยที่ 1-13 รายงานตามระบบเข้าส่วนกลาง ตามรอบการรายงาน 3,6,9,12 เดือน

แหล่งข้อมูล

1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

2. ศูนย์อนามัยที่ 1-13 และ สำนักอนามัยผู้สูงอายุ

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1, 2, 3 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว LTC
ผ่านเกณฑ์

ร้อยละ

13.43
(ทุกตำบลทั่ว
ประเทศ)

27.0
(ทุกตำบลทั่ว
ประเทศ)

74.5
(หมายเหตุ:
เฉพาะตำบลนำร่องโครงการ LTC 1,067 ตำบล)

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2560 : 

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 30

ร้อยละ 35

ร้อยละ 40

ร้อยละ 50

ปี 2561 : 

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 45

ร้อยละ 50

ร้อยละ 55

ร้อยละ 60

ปี 2562 : 

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 50

ร้อยละ 55

ร้อยละ 60

ร้อยละ 70

ปี 2563 : 

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 60

ร้อยละ 65

ร้อยละ 70

ร้อยละ 80

ปี 2564 : 

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 75

ร้อยละ 80

ร้อยละ 90

ร้อยละ 95

 
วิธีการประเมินผล

1. พื้นที่ประเมินตนเองตามองค์ประกอบ

2. จังหวัดประเมินพื้นที่รายงานให้ศูนย์อนามัยเขต รายไตรมาส

3. ศูนย์อนามัยเขตสุ่มประเมิน และรายงานให้ส่วนกลางรอบ3,  6, 9 และ 12 เดือน

เอกสารสนับสนุน

1. คู่มือแนวทางการดำเนินงานดูแลผู้สูงอายุระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนใน     พื้นที่ตำบล Long Term Care

2. คู่มือกลยุทธ์การดำเนินงานตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวกับตำบลต้นแบบ

3. คู่มือแนวทางการประเมิน ADL      

    4. คู่มือการประเมินผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือระยะยาวโดยคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการ         ดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นายแพทย์อุดม อัศวุตมางกุร              ผู้อำนวยการสำนักอนามัยผู้สูงอายุกรมอนามัย

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904508        โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร :                                       E-mail : asawut@hotmail.com,                                                                     udom.a@anamai.mail.go.th

2. นางวิมล บ้านพวน                             หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุและเครือข่าย

                                                       สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย                                 

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904508        โทรศัพท์มือถือ : 097-2419729

    โทรสาร :                                       E-mail : vimol.b@anamai.mail.go.th

สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย​

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางอรวรรณี อนันตรสุชาติ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904504            โทรศัพท์มือถือ : 081-4543563

    โทรสาร :                                           E-mail : orawannee.a@anamai.mail.go.th

กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>