ประชากรไทยอายุตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดประชากรไทยอายุตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2560
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่011
Sort Order0
คำนิยาม

กิจกรรมทางกาย คือ การเคลื่อนไหวร่างกายใดๆ ที่ต้องใช้กล้ามเนื้อและพลังงานไม่ว่าจะเป็นในการทำงาน การเดินทาง หรือ กิจกรรมนันทนาการ

กิจกรรมทางกายระดับปานกลาง คือ การมีกิจกรรมทางกายจนรู้สึกเหนื่อย แต่ยังพูดเป็นประโยคได้ เช่น เดินเร็ว ปั่นจักรยาน ยกของเบา (4 MET)

กิจกรรมทางกายระดับหนัก คือ การมีกิจกรรมทางกายจนรู้สึกเหนื่อย จนพูดเป็นประโยคไม่ได้ เช่น วิ่ง ยกของหนัก (8 MET)

กิจกรรมทางกายเพียงพอ คือ การมีกิจกรรมทางกายระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาที/สัปดาห์ และ/หรือ กิจกรรมทางกายระดับหนัก อย่างน้อย 75 นาที/สัปดาห์ หรือรวมกัน

MET ย่อมาจาก Metabolic Equivalent เป็นหน่วยบอกจำนวนเท่าของการใช้พลังงานในกิจกรรมใดๆ เทียบกับขณะนั่งพัก ซึ่งเท่ากับ 1 MET ยกตัวอย่างเช่น การเดินขึ้นบันไดจะใช้พลังงาน 8 เท่าของขณะพักหรือ 8 METs

ชมรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย หมายถึง ชมรมที่มีการจัดตั้งเพื่อมีการจัดกิจกรรมทางกาย เช่น เต้นแอโรบิค จักรยาน การเดิน การวิ่ง รำไม้พลอง การออกกำลังกายหรือการเล่นกีฬาต่างๆ เป็นต้น โดย รพ.สต. หรือหน่วยงานที่อยู่ในพื้นที่เป็นคนจัดตั้ง หรือ ชุมชนจัดตั้งกันเอง โดย รพ.สต. สนับสนุนชมรม เช่น การให้ความรู้ เป็นต้น

เกณฑ์ของชมรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย หมายถึง เกณฑ์ที่ประเมินชมรมกิจกรรมทางกายที่มีการดำเนินกิจกรรมทางกายเป็นอย่างดี ซึ่งต้องมี  6  องค์ประกอบ คือ

-   ต้องมีโครงสร้างชมรมที่ชัดเจน (มีคณะทำงานผู้รับผิดชอบ)

-   มีแกนนำในการมีกิจกรรมทางกายที่ได้รับการฝึกอบรมการมีกิจกรรมทางกาย

-   จัดกิจกรรมอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์  (ยกเว้นชมรมจักรยาน ชมรมผู้สูงอายุอย่างน้อย  

    สัปดาห์ละ 1 ครั้ง) เพื่อให้มีกิจกรรมทางกายสะสม อย่างน้อย 150 นาที ต่อสัปดาห์ หรือ 30

    นาที/วัน ต่อสัปดาห์

-   มีสถานที่การมีกิจกรรมทางกายที่แน่นอน ปลอดภัย

-   มีการบริหารจัดการในเรื่องงบประมาณที่สนับสนุนทั้งจากหน่วยงานในพื้นที่หรือจากชุมชน

                    -  มีสมาชิกชมรมฯ อย่างน้อย 20 คน

หมายเหตุ : สำหรับหน่วยงานส่วนกลาง คือกองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพเก็บข้อมูล) และร้อยละของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบลมีชมรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย (สำหรับหน่วยงานระดับพื้นที่ เช่น สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aกลุ่มตัวอย่างที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bประชากรกลุ่มตัวอย่างที่สำรวจ
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 80
ประชากรกลุ่มเป้าหมายวัยผู้ใหญ่และสูงอายุ อายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป
ค่าเป้าหมาย80.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

แบบสอบถาม WHO Global Physical Activity Questionnaire: WHO GPAQ

แหล่งข้อมูล

กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนประชากรวัยผู้ใหญ่ และวัยสูงอายุ ทั่วประเทศ

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลรอบ 12 เดือน : (โดยผลการสำรวจของสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. รายงานการสำรวจกิจกรรมทางกายของคนไทย ปี พ.ศ.2558) รอบ 48 เดือน : (โดยผลการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ. รายงานการสำรวจอนามัยสวัสดิการของคนไทย ปี พ.ศ. 2558) รอบ 60 เดือน : (โดยผลการสำรวจของสำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทยด้วยการตรวจร่างกาย โรงพยาบาลรามาธิบดี. การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยด้วยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ.2557)
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

ร้อยละของประชากรไทยอายุตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ

ร้อยละ

81

-

-

เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2560 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

- พัฒนาแนวทางการมีกิจกรรมทางกาย, การลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง, การใช้พลังงาน ในคนไทย กลุ่มวัย กลุ่มอาชีพ

- พัฒนาแนวทางการบริหารจัดการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น

- พัฒนายุทธศาสตร์การส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับชาติ

- ชี้ทิศการวิจัยกิจกรรมทางกายของประเทศ ร่วมกับศูนย์วิจัยกิจกรรมทางกาย

- ผลักดันวาระกิจกรรมทางกายในระดับภูมิภาค และโลก

-

-

- ได้แนวทางการมีกิจกรรมทางกาย, การลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง, การใช้พลังงาน ในคนไทย กลุ่มวัย กลุ่มอาชีพ

- ได้แนวทางส่งเสริมกิจกรรมทางกายในองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และได้ต้นแบบการบริหารจัดการการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ศูนย์อนามัยเขต ละ 1 แห่ง

- ได้แผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับชาติ

- ผลักดันวาระกิจกรรมทางกายในระดับภูมิภาค และโลก

 

ปี 2561 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

- ถ่ายทอดแนวทางการมีกิจกรรมทางกาย, การลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง, การใช้พลังงาน ในคนไทย กลุ่มวัย กลุ่มอาชีพ ให้ภาคีเครือข่าย นำไปปฏิบัติ, ติดตามประเมินผลการนำไปแนวทางไปใช้

- ขยายต้นแบบการบริหารจัดการการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น

-พัฒนาระบบเฝ้าระวังการมีกิจกรรมทางกายของคนไทย

- ชี้ทิศการวิจัยกิจกรรมทางกายของประเทศ ร่วมกับศูนย์วิจัยกิจกรรมทางกาย

 

 

 

 

- ศูนย์อนามัยเขต, องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น, โรงเรียน, สถานประกอบการ, สถานบริการสาธารณสุข นำแนวทางการมีกิจกรรมทางกายไปใช้ส่งเสริม

- กิจกรรมทางกายในหน่วยงาน และพื้นที่ของตน

- ขยายต้นแบบการบริหารจัดการการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ศูนย์อนามัยเขต ละ 2 แห่ง

- ติดตามการนำแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับชาติ ไปปฏิบัติ

- ได้ระบบเฝ้าระวังการมีกิจกรรมทางกายของคนไทย

 

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

- ปรับและพัฒนา แนวทางการมีกิจกรรมทางกาย, การลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง, การใช้พลังงาน ในคนไทย กลุ่มวัย กลุ่มอาชีพ จากการติดตามการนำไปปฏิบัติของภาคีเครือข่าย

- ขยายต้นแบบการบริหารจัดการการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น

- ทบทวนกลยุทธ์การดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับชาติ ไปปฏิบัติ

- ชี้ทิศการวิจัยกิจกรรมทางกายของประเทศ ร่วมกับศูนย์วิจัยกิจกรรมทางกาย

 

 

- คนไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ ร้อยละ 82

- ขยายต้นแบบการบริหารจัดการการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด ละ 1 แห่ง

 

 

 

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

- พัฒนาแนวทางการมีกิจกรรมทางกาย, การลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง, การใช้พลังงาน ในผู้พิการแต่ละประเภท ผู้ป่วยแต่ละประเภท แรงงานต่างด้าว ผู้ไร้สัญชาติ

- ขยายต้นแบบการบริหารจัดการการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น

- เตรียมพัฒนาแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับชาติ ฉบับที่ 2

- ชี้ทิศการวิจัยกิจกรรมทางกายของประเทศ ร่วมกับศูนย์วิจัยกิจกรรมทางกาย

 

 

- ได้แนวทางการมีกิจกรรมทางกาย, การลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง, การใช้พลังงาน ในผู้พิการแต่ละประเภท ผู้ป่วยแต่ละประเภท แรงงานต่างด้าว ผู้ไร้สัญชาติ เบื้องต้น

- ขยายต้นแบบการบริหารจัดการการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด ละ 2 แห่ง

- ได้แนวทางการจัดทำพัฒนาแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับชาติ ฉบับที่ 2

 

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

- พัฒนาแนวทางการมีกิจกรรมทางกาย, การลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง, การใช้พลังงาน ในผู้พิการแต่ละประเภท ผู้ป่วยแต่ละประเภท แรงงานต่างด้าว ผู้ไร้สัญชาติ เพิ่มเติมให้สมบูรณ์

- ขยายต้นแบบการบริหารจัดการการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น

- จัดทำพัฒนาแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับชาติ ฉบับที่ 2

- ชี้ทิศการวิจัยกิจกรรมทางกายของประเทศ ร่วมกับศูนย์วิจัยกิจกรรมทางกาย

 

 

- คนไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ ร้อยละ 84

- ได้แนวทางการมีกิจกรรมทางกาย, การลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง, การใช้พลังงาน ในผู้พิการแต่ละประเภท ผู้ป่วยแต่ละประเภท แรงงานต่างด้าว ผู้ไร้สัญชาติ ที่สมบูรณ์

- ขยายต้นแบบการบริหารจัดการการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด ละ 3 แห่ง

- ได้แผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับชาติ ฉบับที่ 2

 
วิธีการประเมินผล

การสำรวจ ด้วยแบบสอบถาม WHO Global Physical Activity Questionnaire: WHO GPAQ

เอกสารสนับสนุน

1. World Health Organization. Global Physical Activity Questionnaire: WHO GPAQ.
2. สำนักงานนโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข. รายงานสถานการณ์โรค NCDs วิกฤตสุขภาพ         วิกฤตสังคม ห้าสถานการณ์โรค NCDs. 2557.
3. สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทยด้วยการตรวจร่างกาย โรงพยาบาลรามาธิบดี. การสำรวจสุขภาพประชาชน    ไทยด้วยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ.2557.
4. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. รายงานการสำรวจกิจกรรมทางกายของคนไทย ปี                 พ.ศ.2558.
5. สำนักงานสถิติแห่งชาติ. รายงานการสำรวจอนามัยสวัสดิการของคนไทย ปี พ.ศ. 2558.

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นพ.ฐิติกร โตโพธิ์ไทย                       นายแพทย์ชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904587        โทรศัพท์มือถือ : 086-3931693

    โทรสาร : 02-5904584                     E-mail : thitikorn.t@anamai.mail.go.th

2. นางณัฏฐกา กิจสมมารถ                     นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904585         โทรศัพท์มือถือ : 085-1069629

    โทรสาร : 02-5904584                      E-mail : nattaka.c@anamai.mail.go.th

กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กองแผนงาน กรมอนามัย

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นพ.ฐิติกร โตโพธิ์ไทย                       นายแพทย์ชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904587        โทรศัพท์มือถือ : 086-3931693

    โทรสาร : 02-5904584                     E-mail : thitikorn.t@anamai.mail.go.th

2. นางณัฏฐกา กิจสมมารถ                     นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904585        โทรศัพท์มือถือ : 085-1069629

    โทรสาร : 02-5904584                     E-mail : nattaka.c@anamai.mail.go.th

กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>