ร้อยละของโรงพยาบาลระดับ A, S ที่มีการคลอดมาตรฐาน

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของโรงพยาบาลระดับ A, S ที่มีการคลอดมาตรฐาน
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2561
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่001.1
Sort Order0
คำนิยาม

การคลอดมาตรฐาน หมายถึง

1.มีสถานที่และอุปกรณ์ ที่ได้ตามมาตรฐาน

2.มีบุคลากรที่สามารถให้การดูแลผู้คลอดที่มีความเสี่ยงต่ำ/ความเสี่ยงสูง

3.มีระบบการให้บริการตามเกณฑ์

    3.1 การค้นหากลุ่มเสี่ยงด้วย admission record ที่มีการบูรณาการส่วนที่เป็นข้อมูลพื้นฐาน การจำแนกความเสี่ยง แนวทางการดูแลรักษา และเกณฑ์การส่งต่อ เมื่อพบความเสี่ยงต่างๆ เข้าด้วยกัน ดังตัวอย่าง admission record ของกรมการแพทย์

    3.2 ระบบการดูแลผู้คลอด ในระยะคลอด-หลังคลอด ด้วยกราฟดูแลการคลอด / แบบประเมิน EFM ตามคู่มือเวชปฏิบัติการคลอดมาตรฐาน ซึ่งรวมถึงการมีแนวทางในการดูแลภาวะตกเลือดหลังคลอด ดังตัวอย่าง PPH checklist guidelines หรือ PPH order set ของกรมการแพทย์

    3.3 ระบบการส่งต่อผู้คลอดที่มีภาวะเสี่ยง หรือเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อน ด้วยเกณฑ์การส่งต่อที่เป็นลายลักษณ์อักษร (จากโรงพยาบาลแม่ข่าย) มีการบรรจุเกณฑ์การส่งต่อดังกล่าวไว้ใน admission record และกราฟดูแลการคลอด เป็นต้น

4.มีการติดตามและประเมินผลการคลอดมาตรฐาน

5.มีการทบทวน การดูแลรักษามารดาที่เสียชีวิตจากการคลอด

(รายละเอียดในคู่มือเวชปฏิบัติการคลอดมาตรฐาน กรมการแพทย์)

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aแห่ง
นิยามของค่า Aจำนวนสถานบริการสุขภาพของรัฐระดับ A, S ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน
หน่วยของค่า Bแห่ง
นิยามของค่า Bจำนวนสถานบริการสุขภาพของรัฐระดับ A, S ทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)x100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 80
ประชากรกลุ่มเป้าหมายสถานบริการสุขภาพของรัฐทุกระดับ ทั่วประเทศ
ค่าเป้าหมาย80.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

สำรวจและประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยทีมนิเทศและตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข และกรมการแพทย์

แหล่งข้อมูล

สำรวจและประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 2 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

NA

NA

NA

NA

NA

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2561:

โรงพยาบาลระดับ

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

A, S

-

80

-

80

M1, M2, F1, F2

-

40

-

40

 

 

 

 

 

ปี 2562:

โรงพยาบาลระดับ

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

A, S

-

80

-

80

M1, M2, F1, F2

-

40

-

40

 

 

 

 

 

ปี 2563:

โรงพยาบาลระดับ

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

A, S

-

90

-

90

M1, M2, F1, F2

-

50

-

50

 

 

 

 

 

ปี 2564:

โรงพยาบาลระดับ

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

A, S

-

100

-

100

M1, M2, F1, F2

-

60

-

60

วิธีการประเมินผล

1. เขต สสจ. ผลักดันและสร้างความเข้าใจขั้นตอน/กระบวนการ/ความเชื่อมโยงของ

   นโยบาย

2. ทีมนิเทศและตรวจราชการของกระทรวงสาธารณสุขและกรมการแพทย์ ทำการสำรวจ

    และประเมินสถานบริการสุขภาพของรัฐตามเกณฑ์ (พ่วงไปกับการประเมินโรงพยาบาล

    สายใยรัก)

3. สรุปผลการประเมิน

4. คำนวณอัตราส่วนของสถานบริการสุขภาพของรัฐที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน/สถานบริการ

    สุขภาพของรัฐทั้งหมด

เอกสารสนับสนุน

1.คู่มือเวชปฏิบัติการคลอดมาตรฐาน กรมการแพทย์

2. เกณฑ์การประเมินการคลอดมาตรฐาน 17 ข้อ

3. ประชุมมหกรรรมวิชาการ “การคลอดมาตรฐานและการดูแลทารกแรกเกิด” ประจำปี  

    2556-2560

4. ประชุมสัมมนา “การคลอดมาตรฐานและการดูลารกแรกเกิด” สำหรับโรงพยาบาลชุมชน

    4 ภูมิภาค ปี 2557-2558

5. การติดตาม ประเมินผล ระบบริการด้านการคลอดมาตรฐานในเขตสุขภาพ 4 ภูมิภาค

    ปี 2557-2560

6. อบรมเชิงปฏิบัติการ “การทำหัตถการทางสูติกรรมสำหรับแพทย์ใช้ทุนและพยาบาล

    ผดุงครรภ์ของโรงพยาบาลชุมชน” ปี 2558-2560

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. ผศ.นพ. เกษม เสรีพรเจริญกุล             ที่ปรึกษา

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-2062988        โทรศัพท์มือถือ : 081-6945405

   โทรสาร : 02-3548084                            E-mail : kasem_saeree@yahoo.com

โรงพยาบาลราชวิถี

2. ผศ.นพ. สมบูรณ์ ศรศุกลรัตน์              หัวหน้ากลุ่มงานสูติกรรม

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-3548084        โทรศัพท์มือถือ : 081-3156052

   โทรสาร : 02-3548084                            E-mail : chanapatman@gmail.com

โรงพยาบาลราชวิถี

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. นพ.ภัทรวินฑ์ อัตตะสาระ                 รองผู้อำนวยการสำนักนิเทศระบบการแพทย์       

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906357       โทรศัพท์มือถือ : 081-9357334

    โทรสาร : 02-9659851                 E-mail : pattarawin@gmail.com

2. นางจุฬารักษ์ สิงหกลางพล                นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906288       โทรศัพท์มือถือ : 081-355-4866,

                                                                   081-8424148

    โทรสาร : 02-9659851                 E-mail : klangpol@yahoo.com

กรมการแพทย์

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางสาวจิรภัทร์   เยียวยา                 นักวิชาการสาธารณสุข

                                                กลุ่มงานพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์                                                      การแพทย์

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-2062957       โทรศัพท์มือถือ : 085-6971650

    โทรสาร : 02-2062957                 E-mail : coeplus.rajavithi@gmai.com

โรงพยาบาลราชวิถี

2. นพ.ภัทรวินฑ์ อัตตะสาระ                 รองผู้อำนวยการสำนักนิเทศระบบการแพทย์

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906357       โทรศัพท์มือถือ : 081-9357334

    โทรสาร : 02-9659851                 E-mail :          pattarawin@gmail.com

3. นายปวิช อภิปาลกุล                       นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

                                                สำนักยุทธศาสตร์การแพทย์กรมการแพทย์

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906352       โทรศัพท์มือถือ : 085-9594499

    โทรสาร : 02-5918279                 E-mail : moeva_dms@yahoo.com

กรมการแพทย์

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>