ร้อยละของกฎหมายที่ควรปรับปรุงได้รับการแก้ไขและมีการบังคับใช้

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete Log

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของกฎหมายที่ควรปรับปรุงได้รับการแก้ไขและมีการบังคับใช้
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2560
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่096
Sort Order0
คำนิยาม

กฎหมาย หมายถึง กฎหมายของกระทรวงสาธารณสุขระดับพระราชบัญญัติและอนุบัญญัติ
     กฎหมายที่ต้องออกตามรัฐธรรมนูญ หมายถึง กฎหมายเกี่ยวกับการสาธารณสุขที่ต้องออกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 5 เรื่อง คือ

  1.  กฎหมายให้บริการสาธารณสุขแก่ผู้ยากไร้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
  2. กฎหมายให้บริการป้องกันและขจัดโรคติดต่ออันตรายโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
  3. กฎหมายช่วยเหลือมารดาก่อนและหลังคลอด
  4. กฎหมายหลักประกันสุขภาพ
  5. กฎหมายการแพทย์ปฐมภูมิ

     กฎหมายที่ต้องออกอนุบัญญัติที่เร่งด่วน หมายถึง  กฎหมายประกาศใช้แล้วและต้องออกอนุบัญญัติโดยด่วนประกอบด้วย

  1.  พระราชบัญญัติแรงงานทางทะเล พ.ศ. 2558
  2. พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558
  3. พระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2558
  4. พระราชบัญญัติวิชาชีพทันตกรรม พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2559
  5. พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559
  6. พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558
  7. พระราชบัญญัติสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ. 2559

     กฎหมายที่ต้องดำเนินการเร่งด่วน หมายถึง ร่างกฎหมายที่ร่างแล้วเสร็จออกไปจากกระทรวงสาธารณสุขแล้ว แต่ยังไม่มีผลบังคับใช้เป็นกฎหมาย จำนวน 7 ฉบับ ได้แก่

  1. ร่างพระราชบัญญัติควบคุมส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็กและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง พ.ศ. ....
  2. ร่างพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ....
  3. ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยเซลล์บำบัด พ.ศ. ....
  4. ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากบริการสาธารณสุข พ.ศ. ....
  5. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. ....
  6. ร่างพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. ....
  7. ร่างพระราชบัญญัติยา พ.ศ. ....

          กฎหมายที่ต้องควบคุมติดตาม หมายถึง กฎหมายของกระทรวงสาธารณสุขอื่น

ที่ไม่ใช่กฎหมายที่ต้องออกตามรัฐธรรมนูญ กฎหมายที่ต้องออกอนุบัญญัติเร่งด่วนหรือกฎหมาย

ที่ต้องดำเนินการเร่งด่วน

          การแก้ไข หมายถึง ขั้นตอนกระบวนการนิติบัญญัติในการออกกฎหมาย การแก้ไขกฎหมายของกระทรวงสาธารณสุข รวมทั้งการแปลกฎหมายกรณีกฎหมายที่ออก
ตามรัฐธรรมนูญ และกฎหมายที่ต้องดำเนินการเร่งด่วนต้องมีการประกาศใช้เป็นกฎหมายลงในราชกิจจานุเบกษา กรณีกฎหมายที่ต้องควบคุมติดตามให้สิ้นสุดกระบวนการเมื่อรัฐมนตรีลงนามส่งเรื่องไปสำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี

           การแปลกฎหมาย หมายถึง การแปลกฎหมายของกระทรวงสาธารณสุขระดับพระราชบัญญัติจาก ภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ จำนวน 39 ฉบับที่ตามรายชื่อแนบท้าย Templet

           การบังคับใช้กฎหมาย หมายถึง การดำเนินการให้สัมฤทธิ์ผลตามกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงสาธารณสุขได้บัญญัติไว้ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อคุ้มครองสุขภาพของประชาชน

ในปีงบประมาณ 2560 จะบังคับใช้กฎหมายที่สำคัญรวม 3 ประเด็น คือ

  1. คดีเกี่ยวกับการให้บริการทางการแพทย์
  2. การโฆษณาที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์หรือบริการสุขภาพ
  3. การจัดการกับขยะมูลฝอย
     ทั้งนี้ ตามรายชื่อกฎหมายแนบท้าย Templet นี้
หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคะแนน
นิยามของค่า Aคะแนนกลุ่ม 1
หน่วยของค่า Bคะแนน
นิยามของค่า Bคะแนนกลุ่ม 2
หน่วยของค่า Cคะแนน
นิยามของค่า Cคะแนนกลุ่ม 3
หน่วยของค่า Dคะแนน
นิยามของค่า Dคะแนนกลุ่ม 4
หน่วยของค่า Eแห่ง
นิยามของค่า Eสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดที่บังคับใช้กฎหมายได้ครบองค์ประกอบ
หน่วยของค่า Fแห่ง
นิยามของค่า Fสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั้งหมด
สูตรคำนวนตัวชี้วัด
Operator=
เกณฑ์เป้าหมาย
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย1. กฎหมายกระทรวงสาธารณสุข 2. จำนวนการบังคับใช้กฎหมายในทุกจังหวัดทั่วประเทศ
ค่าเป้าหมาย-
Max Value0.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนากฎหมายและประเมินโดยกลุ่มกฎหมาย

    สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. รายงานการบังคับใช้กฎหมายโดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและประเมินโดย

   กลุ่มกฎหมาย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

แหล่งข้อมูล

1. กลุ่มกฎหมาย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. กรมต่าง ๆ ในราชการบริหารส่วนกลาง

3. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั่วประเทศ

4. เขตสุขภาพทุกเขต

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
TagsPA
ระยะเวลาการประเมินผล1. ร้อยละของกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงสาธารณสุขที่ได้รับการปรับปรุงแก้ไขทำการประเมินไตรมาส 4 2. ระดับความสำเร็จของการบังคับใช้กฎหมายที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุขทำการประเมินไตรมาส 2 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

-

-

-

-

-

 
เกณฑ์การประเมินผล

ตัวชี้วัด: ร้อยละของกฎหมายที่ควรปรับปรุงได้รับการแก้ไขและมีการบังคับใช้ แบ่งเป็นตัวชี้วัดย่อย 2 ตัว คือ

ตัวชี้วัดย่อยที่ 1 ระดับความสำเร็จของกฎหมายที่ได้รับการแก้ไขและพัฒนา

ปี 2560 :

      พิจารณาจากความสำเร็จในการแก้ไขกฎหมายปีงบประมาณแยกเป็น 4 กลุ่มมีเป้าหมายดังนี้

กลุ่ม 1 กฎหมายออกตามรัฐธรรมนูญ และกฎหมายที่ต้องออกอนุบัญญัติเร่งด่วนเป้าหมายร้อยละ 100

      เกณฑ์การให้คะแนน

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

ร้อยละ 60

ร้อยละ 70

ร้อยละ 80

ร้อยละ 90

ร้อยละ 100

 

กลุ่ม 2 กฎหมายที่ต้องดำเนินการเร่งด่วน เป้าหมาย ร้อยละ 50

      เกณฑ์การให้คะแนน

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

ร้อยละ 30

ร้อยละ 35

ร้อยละ 40

ร้อยละ 45

ร้อยละ 50

 

กลุ่ม 3 กฎหมายที่ต้องควบคุมติดตามเป้าหมาย ร้อยละ 60

      เกณฑ์การให้คะแนน

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

ร้อยละ 40

ร้อยละ 45

ร้อยละ 50

ร้อยละ 55

ร้อยละ 60

 

 

 

กลุ่ม 4   การแปลกฎหมาย เป้าหมายร้อยละ 100

      เกณฑ์การให้คะแนน

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

ร้อยละ 60

ร้อยละ 70

ร้อยละ 80

ร้อยละ 90

ร้อยละ 100

 

 

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

กฎหมายทุกฉบับมีปฏิทินและแผนปฏิบัติการ              แล้วเสร็จ ร้อยละ ๗๕  กฎหมายกลุ่ม ๑                 ผ่านขั้นตอนร่าง ร้อยละ ๓๐

กรมมีความพร้อมเกี่ยวกับ การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายแต่ละกลุ่ม              ร้อยละ ๕๐                             กฎหมายกลุ่ม ๑               มีความพร้อมร้อยละ ๖๐

กฎหมายกลุ่ม ๑                ผ่านคณะรัฐมนตรีหรือมีร่างผ่านกระทรวง                     เป้าหมาย ร้อยละ ๑๐๐

พระราชบัญญัติกฎหมาย  และกฎกระทรวงประกาศ ใช้

 
 

ปี 2561 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

-

-

-

 

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

-

-

-

 

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

-

-

-

 

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

-

-

-

 

ตัวชี้วัดย่อยที่ 2 ร้อยละความสำเร็จของการบังคับใช้กฎหมายครบองค์ประกอบที่กำหนดของสำนักงานสาธารณสุข

จังหวัดทั่วประเทศ/เป้าหมายร้อยละ 90

ปี 2560 :

กำหนดการบังคับใช้กฎหมายเป็น 4 องค์ประกอบให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัดดำเนินการ

องค์ประกอบ

การดำเนินการ

1.

ต้องกำหนดการบังคับใช้กฎหมายที่กระทรวงให้ความสำคัญเป็นตัวชี้วัดของนิติกรและผู้ปฏิบัติหน้าที่
ด้านกฎหมายของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและวางแผนการบังคับใช้กฎหมายอย่างน้อย 1 ประเด็น
ของกฎหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้บังคับใช้

2.

เข้าร่วมการพัฒนาความรู้ในการบังคับใช้กฎหมายที่กระทรวงสาธารณสุขจัดขึ้นในทุกช่องทางร้อยละ75 ของที่มีการจัด

3.

ต้องมีการสร้างเครือข่ายการบังคับใช้กฎหมายภายในจังหวัดทั้งหน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุข
และหน่วยงานอื่นดังนี้

     - คดีเกี่ยวกับการให้บริการทางการแพทย์ เครือข่ายได้แก่ ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยบริการสาธารณสุข
ในจังหวัด

     - การโฆษณาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพเครือข่าย ได้แก่ สถานบริการสุขภาพของเอกชนในจังหวัด สถานีวิทยุ โทรทัศน์หรือผู้ประกอบการสื่อสิ่งพิมพ์ในจังหวัดเจ้าหน้าที่สรรพสามิต
พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการในจังหวัด

     - การจัดการกับขยะมูลฝอยเครือข่ายได้แก่ สถานพยาบาลรัฐและเอกชนในจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัด พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการภายในจังหวัด

โดยกิจกรรมที่ทำอาจเป็นการเชิญเข้ามาเป็นเครือข่ายหรือเชิญเข้าประชุมการบังคับใช้กฎหมาย
แต่ละเรื่อง หรือสร้างความสัมพันธ์ในการเข้าร่วมอบรมหรือเข้ามาเป็นวิทยากรในการอบรม
ภายในจังหวัดหรือช่วยออกตรวจ หรือขอให้ร่วมประชาสัมพันธ์ การบังคับใช้กฎหมาย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดต้องสร้างเครือข่ายอย่างน้อย 1 เครือข่ายตามประเด็นกฎหมายที่จะบังคับใช้

 

 

4.

ต้องมีการบังคับใช้กฎหมายอย่างน้อย ดังนี้

     1. มีกิจกรรมในเชิงบวกประชาสัมพันธ์และป้องปรามออกตรวจเดือนละ 1 ครั้ง หรือ

     2. มีการใช้มาตรการลงโทษร้องทุกข์ดำเนินคดี หรือลงโทษเรื่องที่เกิดขึ้นภายในจังหวัด โดยขอให้รายงานกระทรวงสาธารณสุขทราบพร้อมหลักฐานทุก 6 เดือน

 

เกณฑ์การให้คะแนน

 

ระดับ 1

ระดับ 2

ระดับ 3

ระดับ 4

ระดับ 5

สสจ.ดำเนินการได้ร้อยละ 50

38 แห่ง

สสจ.ดำเนินการได้ร้อยละ 60

46 แห่ง

สสจ.ดำเนินการได้

ร้อยละ 70

53 แห่ง

สสจ.ดำเนินการได้

ร้อยละ 80

61 แห่ง

สสจ.ดำเนินการได้

ร้อยละ 90

68 แห่ง

 

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ดำเนินการได้ ร้อยละ ๖๐ (๔๖ แห่ง)

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดดำเนินการได้ ร้อยละ ๗๐ (๕๓ แห่ง)

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดดำเนินการได้ ร้อยละ ๘๐ (๖๑ แห่ง)

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดดำเนินการได้

ร้อยละ ๙๐ (๖๘ แห่ง)

 
 
ปี 2561 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ดำเนินการต่อเนื่องจากปี 2560 โดยกำหนดกฎหมายที่จะบังคับใช้ตามนโยบายและวัดความสำเร็จเป็นร้อยละ

 

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ดำเนินการต่อเนื่องจากปี 2561 โดยกำหนดกฎหมายที่จะบังคับใช้ตามนโยบายและวัดความสำเร็จเป็นร้อยละ

 

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ดำเนินการต่อเนื่องจากปี 2562 โดยกำหนดกฎหมายที่จะบังคับใช้ตามนโยบายและวัดความสำเร็จเป็นร้อยละ

 

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ดำเนินการต่อเนื่องจากปี 2563 โดยกำหนดกฎหมายที่จะบังคับใช้ตามนโยบายและวัดความสำเร็จเป็นร้อยละ

 
 
วิธีการประเมินผล

1. ระดับความสำเร็จของกฎหมายที่ได้รับการแก้ไขและพัฒนา พิจารณาจากผลสำเร็จ   

    ในการแก้ไขกฎหมายที่กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบโดยกลุ่มกฎหมาย สำนักงาน

    ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. ร้อยละความสำเร็จของการบังคับใช้กฎหมายครบองค์ประกอบที่กำหนดของ
    สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั้งประเทศ
ประเมินจากข้อมูลรายงานจากสำนักงาน 

    สาธารณสุขจังหวัดโดยกลุ่มกฎหมาย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

เอกสารสนับสนุน

แผนการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายในแต่ละปี

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นางสุดา  ทองผดุงโรจน์                   ผู้อำนวยการกลุ่มกฎหมาย         

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :0 2590 1438     โทรสาร : 0 2590 1434

    E-mail : legal@health.moph.go.th

2. นายสิทธิศักดิ์  รอดเกิด           นิติกรชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1437    โทรสาร :0 2590 1434

    E-mail : legal@health.moph.go.th

3.  นายณรงค์ศักดิ์  สงวนปรางค์             นิติกรชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1437    โทรสาร :0 2590 1434

    E-mail : legal@health.moph.go.th

 

 

4. นายกิตติ  พวงกนก                        นิติกรชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1432    โทรสาร :0 2590 1434

    E-mail : legal@health.moph.go.th

5. นางสาวอัยยาชินตร์  ฤทธิ์เลื่อน           นิติกร

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1432    โทรสาร :0 2590 1434

    E-mail : legal@health.moph.go.th

กลุ่มกฎหมาย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

 

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำจ้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กลุ่มกฎหมาย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นายกิตติ  พวงกนก                          นิติกรชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901432       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5901434                    E-mail : legal@health.moph.go.th

กลุ่มกฎหมาย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. นางสาวอัยยาชินตร์  ฤทธิ์เลื่อน           นิติกร

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901432       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5901434                    E-mail : legal@health.moph.go.th

กลุ่มกฎหมาย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
ผลการดำเนินงาน >>