อัตรากลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete Log

ชื่อตัวชี้วัดอัตรากลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2561
ระดับตัวชี้วัดจังหวัด
ตัวชี้วัดที่019.2
Sort Order-
คำนิยาม

2. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน

   2.1 กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง หมายถึง ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่มีค่าระดับความดันโลหิต ≥ 140/90 mmHg ในเขตรับผิดชอบและรอการวินิจฉัยของแพทย์ในปีงบประมาณ

   2.2 การวัดความดันโลหิตที่บ้าน หมายถึง กลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจความดันโลหิตซ้ำอีกครั้งที่บ้าน โดย อสม.หรือด้วยตนเอง (กรณีที่วัดความดันโลหิตเป็น) ตามแนวทางการวัดความดันโลหิตที่บ้าน* หลังจากมารับบริการการคัดกรองที่โรงพยาบาลแล้ว

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aจำนวนประชากรสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bจำนวนประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณ
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B) x 100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายอัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ≥ร้อยละ 10
ประชากรกลุ่มเป้าหมายประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ ที่ได้รับการคัดกรองว่าเป็นกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในปีงบประมาณ
ค่าเป้าหมาย10.00
Max Value10.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

บันทึกผ่านโปรแกรมพื้นฐานของหน่วยบริการ และส่งออกข้อมูลตามมาตรฐานข้อมูล 43 แฟ้ม เข้าสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 

แหล่งข้อมูล

ระบบรายงาน HDC กระทรวงสาธารณสุข

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags43 แฟ้ม
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2558

2559

2560

อัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน

อัตรา

-

-

-

 
ที่มา : ระบบรายงาน HDC กระทรวงสาธารณสุข
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2561 :

 

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

DM

อัตราประชากร Pre-DMในเขตรับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำและได้รับคำแนะนำเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

≥ร้อยละ 30

อัตราประชากร Pre-DM ในเขตรับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำและได้รับคำแนะนำเพื่อ

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

≥ร้อยละ 80

อัตราประชากร Pre-DM ในเขตรับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำและได้รับคำแนะนำเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

≥ร้อยละ 90

อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จาก Pre-DM        ไม่เกินร้อยละ 2.40

HT

มีการเตรียมความพร้อมและแผนงานในการดำเนินงานสำหรับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน

อัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ≥ร้อยละ  5

 อัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ≥ร้อยละ 8

อัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ≥ร้อยละ 10

 

 

 

 

ปี 2562 :

 

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

DM

-

-

-

อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ไม่เกินร้อยละ 2.40

HT

-

-

-

อัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ≥ร้อยละ 20

 

 

ปี 2563 :

 

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

DM

-

-

-

อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ไม่เกินร้อยละ 2.28

HT

-

-

-

อัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ≥ร้อยละ 30

 

 

ปี 2564 :

 

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

DM

-

-

-

อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ไม่เกิน ร้อยละ 2.16

HT

-

-

-

อัตราประชากรกลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ≥ร้อยละ 40

หมายเหตุ : คำแนะนำเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเป็นระบบ

                  1. งดสูบบุหรี่ และดมควันบุหรี่ อย่างน้อย 6 เดือน

                  2. ถ้าดัชนีมวลกายมากกว่า 30.0 กก./ม2 ให้ลดน้ำหนักลง 5% ของน้ำหนักเดิม ภายใน 1 ปี ด้วยวิธีการออกกำลังกายและควบคุมการบริโภคอาหาร (โดยเฉพาะการลดเกลือและโซเดียม)

                  3. งดการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ อย่างน้อย 6 เดือน

                  4. สถานบริการมีรูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างชัดเจนอย่างน้อย 1 วิธี

* วิธีการวัดความดันโลหิตที่บ้าน รายละเอียดตามเอกสารแนบ
วิธีการประเมินผล

ติดตามจากระบบรายงานใน HDC

เอกสารสนับสนุน
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นายแพทย์ดิเรก  ขำแป้น                 ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903982       โทรศัพท์มือถือ : 

    โทรสาร : 02-5903973                 E-mail : dr.tum@hotmail.com

2. แพทย์หญิงสุมนี  วัชรสินธุ์                 หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข

  : 02-5903963       :

    โทรสาร : 02-5903964                 E-mail : wsu_1978@hotmail.com

สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำจ้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. แพทย์หญิงสุมนี  วัชรสินธุ์                 หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903963       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5903964                 E-mail : wsu_1978@hotmail.com

2. นางเมตตา คำพิบูลย์                       นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

  : 02-5903963      

    โทรสาร : 02-5903964                 E-mail : mettakum@gmail.com 

 

3. นายกัณฑพล ทับหุ่น                      นักวิชาการสาธาณสุขปฏิบัติการ

  : 02-5903963        

  โทรสาร : 02-5903964                             E-mail : kanthabhon@gmail.com

สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
ผลการดำเนินงาน >>