อัตราตายของผู้ป่วยฉุกเฉิน (Triagel level 1) ภายใน 24 ชม. ในโรงพยาบาล A, S, M1

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete Log

ชื่อตัวชี้วัดอัตราตายของผู้ป่วยฉุกเฉิน (Triagel level 1) ภายใน 24 ชม. ในโรงพยาบาล A, S, M1
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2562
ระดับตัวชี้วัดเขต
ตัวชี้วัดที่037
Sort Order0
คำนิยาม

ECS : Emergency Care System (ระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ)
หมายถึง
ระบบการบริหารจัดการเพื่อให้ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับการดูแลรักษาที่มีคุณภาพและป้องกันภาวะทุพพลภาพ ที่อาจเกิดขึ้น ทั้งในภาวะปกติ และ ภาวะภัยสุขภาพประกอบด้วย การดูแลผู้ป่วยก่อนถึงโรงพยาบาล (EMS) การดูแลในห้องฉุกเฉิน (ER) การส่งต่อระหว่างสถานพยาบาล (Referral System) การจัดการสาธารณภัยด้านการแพทย์และสาธารณสุข (Disaster)

แนวคิดการจัดบริการ ECS คือ การพัฒนา “ห่วงโซ่คุณภาพ (Chain of Quality)” ได้แก่ EMS คุณภาพ, ER คุณภาพ, Refer คุณภาพ และ Disaster คุณภาพ เพื่อสร้าง “ห่วงโซ่แห่งการรอดชีวิต (Chain of Survival)” ของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน โดยมีเป้าประสงค์ 1) เพิ่มการเข้าถึงบริการของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน 2) ลดอัตราการเสียชีวิตและภาวะทุพพลภาพที่ป้องกันได้ (Preventable Death) จากการเจ็บป่วยฉุกเฉิน                3) ระบบ ECS ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน

การพัฒนา ECS ในปี 2561-2565 จะมุ่งเน้นการพัฒนา ER คุณภาพ

“ผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน” หมายถึง ผู้มารับบริการ ณ ห้องฉุกเฉินและได้รับการคัดแยกเป็น Triage Level 1

“การเสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมง” หมายถึง นับจากเวลาที่ผู้ป่วยมาห้องฉุกเฉินถึงเวลาที่เสียชีวิต (Door to Death) ภายใน 24 ชั่วโมง ซึ่งรวมถึงการเสียชีวิตในห้องฉุกเฉิน

การบาดเจ็บต่อเนื้อสมอง (Severe traumatic brain injury) TBI” หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของ หน้าที่การทำ งานของสมอง หรือเกิดพยาธิสภาพของสมองจากแรงกระทำภายนอก ทั้งนี้ไม่รวมบาดแผลบริเวณใบหน้า กระดูกใบหน้าแตก หรือบาดเจ็บภายนอกอื่นๆ 

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aจำนวนผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินที่เสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมง
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bจำนวนผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator<
เกณฑ์เป้าหมายอัตราการเสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมงของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน ที่ Admit จากห้องฉุกเฉินในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 น้อยกว่าร้อยละ 12
ประชากรกลุ่มเป้าหมายโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ระดับ A, S, M1
ค่าเป้าหมาย12.00
Max Value-
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

HDC

1. ผู้เจ็บป่วยเสียชีวิตจากแฟ้ม DEATH, SERVICE, ADMISSION เชื่อมโยงด้วยรหัสบัตรประชาชน

2. ระยะเวลาจากแฟ้ม DEATH, SERVICE, ADMISSION

3. ผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินจากแฟ้ม ACCIDENT

แหล่งข้อมูล

มาตรฐาน 43 แฟ้มกระทรวงสาธารณสุข

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผล
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2559

2560

2561

 

ร้อยละ

N/A

N/A

11.89

 
เกณฑ์การประเมินผล

 อัตราการเสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมงของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน ที่ Admit จากห้องฉุกเฉินในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 น้อยกว่าร้อยละ 12

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

อัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 < 15%

-

อัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 < 12%

ตัวชี้วัดรองตัวที่ 1 :

1.1 อัตราของผู้ป่วย trauma triage level 1 และมีข้อบ่งชี้ในการผ่าตัด ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 สามารถเข้าห้องผ่าตัดได้ภายใน 60 นาที ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

อัตราของผู้ป่วย trauma triage level 1 และมีข้อบ่งชี้ในการผ่าตัด ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 สามารถเข้าห้องผ่าตัดได้ภายใน 60 นาที ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60

อัตราของผู้ป่วย trauma triage level 1 และมีข้อบ่งชี้ในการผ่าตัด ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 สามารถเข้าห้องผ่าตัดได้ภายใน 60 นาที ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70

อัตราของผู้ป่วย trauma triage level 1 และมีข้อบ่งชี้ในการผ่าตัด ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 สามารถเข้าห้องผ่าตัดได้ภายใน 60 นาที ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80

 

1.2 อัตราของผู้ป่วย triage level 1, 2 อยู่ในห้องฉุกเฉิน <2 ชม. ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

ร้อยละ 60

 

 

 

ตัวชี้วัดรองตัวที่ 2 :

2.1 อัตราตายของผู้ป่วย PS score >0.75 ในโรงพยาบาลทุกระดับ และได้รับการทำ root cause analysis ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 100

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

อัตราตายของผู้ป่วย PS score >0.75 ในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป ได้รับการทำ root cause analysis ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 100

  •  

อัตราตายของผู้ป่วย PS score >0.75 ในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป ได้รับการทำ root cause analysis ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 100

2.2 อัตราตายผู้ป่วยบาดเจ็บรุนแรงต่อสมอง (mortality rate of severe traumatic brain injury) (รหัส ICD S 06.1 – S 06.9) ไม่เกินร้อยละ 45

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ไม่เกิน 45 %

ไม่เกิน 45 %

ไม่เกิน 45 %

ไม่เกิน 45 %

ตัวชี้วัดรองตัวที่ 3 :

3.1 อัตราของ TEA unit ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 ที่ผ่านเกณฑ์ประเมินคุณภาพ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

ร้อยละ 10

3.2 อัตราของโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป ที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน ECS คุณภาพ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

ร้อยละ 80

 
วิธีการประเมินผล

นตอนที่ 1 โรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป มีคณะกรรมการพัฒนาระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล และ ในโรงพยาบาลระดับ M1 ขึ้นไป มี TEA Unit เพื่อทำหน้าที่

จัดทำสถิติบริการห้องฉุกเฉินแยกตามระดับการคัดแยก

รวบรวมข้อมูลการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินที่ Admit จากห้องฉุกเฉินภายใน 24 ชั่วโมง

วิเคราะห์โรคและสาเหตุการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน

Audit เพื่อค้นหาโอกาสการพัฒนา และจัดทำข้อเสนอแนะ

วางแผนการพัฒนาโดยจัดลำดับความสำคัญ

นำแผนไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม

ติดตามและประเมินผลทุก 1-3 เดือน

ขั้นตอนที่ 2 เขตสุขภาพ /สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 

จัดทำสถิติบริการห้องฉุกเฉินแยกตามระดับการคัดแยกตามระดับโรงพยาบาล

     2.2 เปรียบเทียบเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินที่ Admit จากห้องฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ตามระดับโรงพยาบาล/จังหวัด

     2.3 สนับสนุนงบประมาณ ครุภัณฑ์ การฝึกอบรม

ขั้นตอนที่ 3 ส่วนกลาง

     3.1 จัดทำสถิติบริการห้องฉุกเฉินแยกตามระดับการคัดแยกตามระดับโรงพยาบาล/เขต

     3.2 เปรียบเทียบเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินที่ Admit จากห้องฉุกเฉิน ภายใน

24 ชั่วโมง ตามระดับโรงพยาบาล/เขต

     3.3 วิเคราะห์ในระดับนโยบาย เช่น สนับสนุน คน การอบรม งบประมาณ เครื่องมือ

เอกสารสนับสนุน

http://www.who.int/bulletin/volumes/91/5/12-112664/en/

คู่มือความปลอดภัยผู้ป่วย (National Patient Safety Goal) SIMPLE

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ

1. น.พ.ชาติชาย   คล้ายสุบรรณ                       นายแพทย์ชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :037-211297                   โทรศัพท์มือถือ : 086-1414769

    โทรสาร : 037-211297                             E-mail : beera024@gmail.com

โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี

2. น.พ.รัฐพงษ์  บุรีวงษ์                                นายแพทย์ชำนาญการ 

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 035-211888 ต่อ 2103       โทรศัพท์มือถือ : 086-5694886

    โทรสาร : 035-242182                             E-mail : rattapong.b@gmail.com

โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

3. พ.ญ.นฤมล  สวรรค์ปัญญาเลิศ                      หัวหน้ากลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906286                 โทรศัพท์มือถือ : 081-8424148

    โทรสาร : 02-5918276                     E-mail : mertthailand@gmail.com

กรมการแพทย์

ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

 

 1. นพ.ชาติชาย  คล้ายสุบรรณ 

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                        โทรศัพท์มือถือ : 086-1414769

    โทรสาร : 037-211297                   E-mail : beera024@gmail.com

โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี

2. นายสโรช  จินดาวณิชย์                    นักวิชาการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901664       โทรศัพท์มือถือ : 081-0745599

    โทรสาร : 02-5901853                  Email: maxjung_woo@hotmail.com

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน

3. นางสาวปาริฉัตร  หมื่นจี้                   นักวิชาการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901664       โทรศัพท์มือถือ : 095-4845829

    โทรสาร : 02-5901853                  E-mail : m.b.parichat@gmail.com

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน

4. นางสาวพิมลมาส  คุ้มชุ่ม                  นักวิชาการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901664       โทรศัพท์มือถือ : 085-2878945

    โทรสาร : 02-5901853                  E-mail : pepimolmas11@gmail.com

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน

5.  นายอัครเดช  เป็งจันตา                   นักวิชาการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901664       โทรศัพท์มือถือ : 093-3923702

    โทรสาร : 02-5901853                  Email: akaradhp@gmail.com

กองสาธารณสุขฉุกเฉิน  

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำจ้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. นายโสรัจจะ  ชูแสง                        หัวหน้างานบริหารระบบสารสนเทศ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                         โทรศัพท์มือถือ : 081-8271669 

    โทรสาร :                                  Email : sorajja.c@niems.go.th

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. น.พ.ธีรชัย ยงชัยตระกูล                     นายแพทย์เชี่ยวชาญ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                        โทรศัพท์มือถือ : 081-8429384

    โทรสาร :                                  E-mail : teerachai.y@gmail.com

สำนักการแพทย์ เขตสุขภาพที่ 1 กรมการแพทย์

2. น.พ.กุลพัฒน์  วีรสาร                       นายแพทย์เชี่ยวชาญ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-3069899 ต่อ 2399   โทรศัพท์มือถือ : 081-8438830

    โทรสาร : 02-3547084                    E-mail :kveerasarn@gmail.com

สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์

3. น.พ.เกษมสุข  โยธาสมุทร                 นายแพทย์ปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                        โทรศัพท์มือถือ : 083-8033310

    โทรสาร :                                  E-mail : k.yothasamutr@gmail.com

กลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์

4. น.พ.ชาติชาย  คล้ายสุบรรณ              นายแพทย์ชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                        โทรศัพท์มือถือ : 086-1414769

    โทรสาร : 037-211297                   E-mail : beera024@gmail.com

โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จ.ปราจีนบุรี

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
ผลการดำเนินงาน >>