ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete Log

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2562
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่039
Sort Order0
คำนิยาม

จังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน หมายถึง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมีระบบและกลไกเพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ใน 6 ประเด็น ดังนี้

1. มีข้อมูล สถานการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ        

2. มีการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ                

3. มีกลไกการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ  

4. มีระบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของสถานบริการการสาธารณสุข

5. มีการจัดการคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  

6. มีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

พื้นที่เสี่ยงมลพิษสิ่งแวดล้อม หมายถึง พื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม เช่น พื้นที่เสี่ยงจากมลพิษสารเคมีและสารอันตราย พื้นที่มีมลพิษทางอากาศ พื้นที่คาดว่าจะเกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ พื้นที่เสี่ยงการจัดการสิ่งปฏิกูลและพยาธิใบไม้ในตับ และพื้นที่ที่ประชาชนมีโอกาสได้รับผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aจังหวัด
นิยามของค่า A จำนวนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐานขึ้นไป
หน่วยของค่า Bจังหวัด
นิยามของค่า Bจำนวนสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 100 ของจังหวัด ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน
ประชากรกลุ่มเป้าหมายสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด
ค่าเป้าหมาย100.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามเกณฑ์ตัวชี้วัด และจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแบบฟอร์มที่กำหนด และส่งให้ศูนย์อนามัย (ศอ.) เป็นรายไตรมาส 

2. ศูนย์อนามัย (ศอ.) รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวมของเขตและจัดส่งข้อมูลให้กรมอนามัย ตามแบบฟอร์มที่กำหนด และสำเนา ให้สำนักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.)

3. กรมอนามัยและกรมควบคุมโรค รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลระดับประเทศ จัดทำเป็นรายงานสรุปผลการดำเนินงานฯ รายไตรมาส และสำเนาให้กรมควบคุมโรค

4. กรมอนามัย จัดส่งรายงานผลการดำเนินงานฯ กระทรวงสาธารณสุข  

แหล่งข้อมูล

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญใช่
ตัวชี้วัด Area Baseใช่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1, 2, 3 และ 4
ข้อมูล Baseline
 

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณพ.ศ.

2559

2560

2561

ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

ร้อยละ

 

94.74

(72 จังหวัด)

 

 

60.53

(46 จังหวัด)

 

ณ 25 กย.60

 

65.79

(50 จังหวัด)

 

ณ 11 กย.61

เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 100 ของจังหวัด           มีแผนปฏิบัติการ/มีการชี้แจงแนวทางการดำเนินงานฯ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพแก่หน่วยงานสาธารณสุข  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นทึ่

ร้อยละ 40 ของจังหวัด                มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน          

ร้อยละ 70 ของจังหวัด             มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน          

ร้อยละ 100 ของจังหวัด              มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน          

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 100 ของจังหวัด           มีแผนปฏิบัติการ/มีการชี้แจงแนวทางการดำเนินงานฯ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ แก่หน่วยงานสาธารณสุข/ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นทึ่

ร้อยละ 60 ของจังหวัด              มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับดี           

ร้อยละ 70 ของจังหวัด             มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับดี          

ร้อยละ 80 ของจังหวัด          มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับดี              

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 100 ของจังหวัด           มีแผนปฏิบัติการ/มีการชี้แจงแนวทางการดำเนินงานฯ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ แก่หน่วยงานสาธารณสุข/ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นทึ่

ร้อยละ 40 ของจังหวัด          มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก

ร้อยละ 50 ของจังหวัด         มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก

ร้อยละ 60 ของจังหวัด            มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ  ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก

 

วิธีการประเมินผล

1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ทำการประเมินตนเอง (ตามแบบฟอร์มที่กำหนด)

2. ศูนย์อนามัย (ศอ.) และสำนักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.)

     2.1 ทำการทวนสอบและวิเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 

     2.2 ประเมินผลการดำเนินงานของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (ตามแบบฟอร์มที่กำหนด)

     2.3 สุ่มประเมินเชิงคุณภาพ

     2.4 จัดทำสรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดฯ ภาพรวมของเขต

3. ส่วนกลาง (กรมอนามัยและกรมควบคุมโรค) สุ่มประเมินเชิงคุณภาพ และจัดทำสรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดฯ ภาพรวมของประเทศ

เอกสารสนับสนุน

1. ระบบสารสนเทศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย (NEHIS) และคู่มือการใช้งานระบบฯ

2. แนวทางการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

3. คำแนะนำการจัดระบบเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์

4. แนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมสำหรับโรงพยาบาล

5. คู่มือ/แนวทางการปฏิบัติงานสำหรับฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัดและคณะอนุกรรมการสาธารณสุขอำเภอหรือคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง

6. Animation ให้ความรู้ด้านกฎหมายสาธารณสุขและบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด

    6.1 โปรแกรมกำกับติดตามรายงานผลการดำเนินงานของคณะกรรมการตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข

    6.2 หลักสูตรอบรมให้ความรู้ด้านการบังคับใช้กฎหมายและการยกร่างข้อบัญญัติท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข

7. คู่มือปฏิบัติงานสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เรื่องการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม

8. คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

9. กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545 และประกาศกระทรวงที่เกี่ยวข้อง11. คู่มือแนวทางการพัฒนาสถานบริการการสาธารณสุขให้ได้มาตรฐานการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ

10. คู่มือแนวทางการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

11. คู่มืออบรมผู้ปฏิบัติงานมูลฝอยติดเชื้อ หลักสูตรป้องกันและระงับการแพร่เชื้อหรืออันตรายที่อาจเกิดจากมูลฝอยติดเชื้อ

12. คู่มือแนวทางการบริหารจัดการสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล

13. คู่มือแนวทางการดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital

14. แนวทางการพัฒนาชุมชสนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชน

15. แนวทางการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนสำหรับประชาชน และเจ้าหน้าที่

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

ประเด็นมีข้อมูล สถานการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

1. นางสาวพาสนา ชมกลิ่น                  นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ      

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904202         โทรศัพท์มือถือ : 084-7141092

โทรสาร : 02-5904356                      E-mail : pasana.c@anamai.mail.go.th 

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ  กรมอนามัย 

2. นายประหยัด เคนโยธา                   นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904380         โทรศัพท์มือถือ : 097-1141359

โทรสาร : 02-5904388                      E-mail : paktiw_y@hotmail.com

สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค

ประเด็นมีการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ                

1. นางสาวอำพร  บุศรังสี                       นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5904359           โทรศัพท์มือถือ : 081-8311430

โทรสาร : 02-5904356                         E-mail : bussarangsri@gmail.com

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ  กรมอนามัย 

2. นายประหยัด เคนโยธา                   นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904380         โทรศัพท์มือถือ : 097-1141359

โทรสาร : 02-5904388                      E-mail : paktiw_y@hotmail.com

ประเด็นมีกลไกการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

1. นายพลากร จินตนาวิวัฒน์               นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904219         โทรศัพท์มือถือ : 084-8289950

โทรสาร : 02-5918180                      E-mail : palakorn.c@anamai.mail.go.th

ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข  กรมอนามัย

2. นางสาวชญาณี ศรีวรรณ                 นักวิชาการสาธารณสุข

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904219         โทรศัพท์มือถือ : 097-1523336

โทรสาร : 02-5918180                      E-mail : chayanee.s@anamai.mail.go.th

ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข  กรมอนามัย

ประเด็นมีระบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของสถานบริการการสาธารณสุข

1. นางสาวปาณิสา  ศรีดโรมนต์             นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904128          โทรศัพท์มือถือ :  099-6549915

โทรสาร : 02-5904200                       E-mail : panisa.s@anamai.mail.go.th

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม  กรมอนามัย 

ประเด็นมีการจัดการคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  

1. นายชัยเลิศ กิ่งแก้วเจริญชัย              นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904177         โทรศัพท์มือถือ :  080-4346888

โทรสาร : 02-5904188                      E-mail : chailert.k@anamai.mail.go.th

สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ  กรมอนามัย 

ประเด็นมีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

1. นางสุธิดา  อุทะพันธุ์                      นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904253          โทรศัพท์มือถือ :  063-4515644

โทรสาร : 02-5904255                      E-mail : sutida.u@anamai.mail.go.th

สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม  กรมอนามัย

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำจ้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. นางสาวพาสนา ชมกลิ่น                    นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ                                      

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904202         โทรศัพท์มือถือ : 084-7141092

โทรสาร : 02-5904356                         E-mail : pasana.c@anamai.mail.go.th 

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ  กรมอนามัย 

2. นายประหยัด เคนโยธา                      นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904380         โทรศัพท์มือถือ : 097-1141359

โทรสาร : 02-5904388                         E-mail : paktiw_y@hotmail.com

สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค 

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

นางสาวพาสนา ชมกลิ่น                        นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ                                      

โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5904202         โทรศัพท์มือถือ : 084-7141092

โทรสาร : 02-5904356                         E-mail : pasana.c@anamai.mail.go.th 

กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ  กรมอนามัย  

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base-
Areabase Kpi Regioncode-
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
ผลการดำเนินงาน >>