ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐาน ตามเกณฑ์ที่กำหนด

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete Log

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐาน ตามเกณฑ์ที่กำหนด
Child KPI011.1 ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจสอบมีความปลอดภัยตามเกณฑ์ที่กำหนด(ผักและผลไม้สด)
011.2 ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจสอบมีความปลอดภัยตามเกณฑ์ที่กำหนด(นมโรงเรียน)
011.3 ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจสอบมีความปลอดภัยตามเกณฑ์ที่กำหนด( ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรืออาหารกลุ่มเป้าหมาย)
011.4 ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจสอบมีความปลอดภัยตามเกณฑ์ที่กำหนด (เครื่องสำอางค์)
011.5 ร้อยละของยาแผนโบราณกลุ่มเสี่ยงปลอดภัย ไม่พบการปลอมปนสเตียรอยด์
สร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2562
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่011
Sort Order0
คำนิยาม
  1. ผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด หมายถึงผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยง ได้แก่
  • ผักและผลไม้สด, นมโรงเรียน, ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรืออาหารที่พบสารที่มีฤทธิ์ในการลดน้ำหนักหรือเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ และเครื่องสำอางที่ได้รับการตรวจสอบมี          ความปลอดภัย และ
  • ยาแผนโบราณมีความปลอดภัย ไม่พบการปลอมปนสเตียรอยด์
  1. ผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยง หมายถึง
    1. ผักและผลไม้สด

2.1.1 ผักและผลไม้สด หมายถึง ผักและผลไม้สดตามขอบข่ายของประกาศกระทรวงสาธารณสุข เลขที่ 386 พ.ศ. 2560 เรื่อง กำหนดวิธีการผลิต เครื่องมือ เครื่องใช้ในการผลิตและการเก็บรักษาผักหรือผลไม้สดบางชนิดและการแสดงฉลาก ซึ่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุ่มเก็บตัวอย่าง ณ สถานที่ผลิต (คัดและบรรจุ) ผักและผลไม้สดหรือสถานที่จำหน่ายเป้าหมาย แล้วแต่กรณี

2.1.2 สารเคมีกำจัดศัตรูพืช หมายถึง สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ได้แก่ กลุ่มออร์กาโน-ฟอสเฟต กลุ่มคาร์บาเมต กลุ่มออร์แกโนคลอรีน และกลุ่มไพรีทรอยด์

  1. นมโรงเรียน หมายถึง ผลิตภัณฑ์นมพร้อมดื่ม โดยมีคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์เป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 350 พ.ศ. 2556 เรื่องนมโค และประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 364) พ.ศ. 2556 เรื่อง มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค ซึ่งจำหน่ายภายใต้โครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน เท่านั้น
  2. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรืออาหารที่พบสารที่มีฤทธิ์ในการลดน้ำหนักหรือเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ

- ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรืออาหารกลุ่มเป้าหมาย หมายถึง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร กาแฟ หรือเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท ที่ผลการตรวจวิเคราะห์ในปี 2560 – 2561  พบการปลอมปนสารที่มีฤทธิ์ในการลดน้ำหนักหรือเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ (Blacklist)

 2.4 เครื่องสําอาง หมายถึง วัตถุที่มุ่งหมายสําหรับใช้ทา ถูนวด โรย พ่น หยอด ใส่ อบ หรือกระทําด้วยวิธีอื่นใดกับส่วนภายนอกของร่างกายมนุษย์และให้หมายความรวมถึงการใช้กับฟันแลเยื่อบุในช่องปากโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความสะอาด ความสวยงาม หรือเปลี่ยนแปลงลักษณะที่ปรากฏ หรือระงับกลิ่นกาย หรือปกป้องดูแลส่วนต่าง ๆ นั้น ให้อยู่ในสภาพดีและรวมตลอดทั้งเครื่องประทินต่าง ๆ สําหรับผิวด้วย แต่ไม่รวมถึงเครื่องประดับและเครื่องแต่งตัวซึ่งเป็นอุปกรณ์ภายนอกร่างกาย

 2.5 ยาแผนโบราณ

 - ยาแผนโบราณกลุ่มเสี่ยง หมายถึง ยาแผนโบราณที่มีทะเบียนตำรับตามกฎหมาย ที่อยู่ในครัวเรือนของผู้สูงอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป ที่ป่วยด้วย โรคเรื้อรังอย่างใดอย่างหนึ่งใน 7 โรค ดังนี้

1) โรคเก๊า

2) โรคไขมัน

3) เบาหวาน

4) ความดัน

5) หอบหืด

6) ข้อเสื่อม

7) CKD

  1. การตรวจสอบ หมายถึง การเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงจากสถานที่เก็บตัวอย่างตามที่กำหนด เพื่อตรวจสอบวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ และเก็บตัวอย่างยาแผนโบราณกลุ่มเสี่ยง จากครัวเรือนของประชากรกลุ่มเป้าหมาย ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างมาทดสอบด้วยชุดทดสอบ       อย่างง่าย โดยไม่นับรวม เรื่องร้องเรียน กรณีพิเศษ ฉุกเฉินหรือวิเคราะห์ซ้ำ

หมายเหตุ : การรายงานผลการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยง ให้แยกผลการตรวจวิเคราะห์จากห้องปฏิบัติการและผลการทดสอบเบื้องต้นโดยชุดทดสอบเบื้องต้นให้ชัดเจน

  1. แผน/โครงการจัดการผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยง หมายถึง แผน/โครงการจัดการผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยง 5 กลุ่ม

หมายเหตุ : รายละเอียดการดำเนินงานตามตัวชี้วัดของผลิตภัณฑ์กลุ่มเสี่ยงแต่ละกลุ่ม ตามเอกสารแนบ

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aผลิตภัณฑ์
นิยามของค่า Aจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงแต่ละกลุ่มที่ได้รับการตรวจสอบทางห้องปฏิบัติการมีความปลอดภัย
หน่วยของค่า Bผลิตภัณฑ์
นิยามของค่า Bจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงแต่ละกลุ่มที่ได้รับผลวิเคราะห์จากห้องปฏิบัติการทั้งหมด
หน่วยของค่า Cผลิตภัณฑ์
นิยามของค่า Cจำนวนยาแผนโบราณที่ปลอดภัย ไม่พบการปลอมปนสเตียรอยด์ (ตรวจพบจากชุดทดสอบอย่างง่าย)
หน่วยของค่า Dผลิตภัณฑ์
นิยามของค่า Dจำนวนยาแผนโบราณกลุ่มเสี่ยงทั้งหมดที่นำมาตรวจ
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด((A/B)x100+(C/D)x100))/2
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 80
ประชากรกลุ่มเป้าหมายทั่วประเทศ จำแนกเป็นตัวอย่างผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดำเนินการโดยส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ตามแผนเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ค่าเป้าหมาย80.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

รวบรวมจากผลการตรวจสอบของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตามแบบฟอร์มที่กำหนด และนำเข้าในระบบ Dashboard ของกระทรวงสาธารณสุข โดยรายงานทุกไตรมาส

แหล่งข้อมูล

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญใช่
ตัวชี้วัด Area Baseใช่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผล4 ครั้ง/ปี รายงานทุกวันที่ 20 ของเดือนธันวาคม, มีนาคม, มิถุนายน, กันยายน
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2559

2560

2561

ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด

ร้อยละ

-

77.32

-

เกณฑ์การประเมินผล

กณฑ์การประเมิน : ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด

ปี 2562 - 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

การตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยง

มีแผน/โครงการจัดการ

ผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยง

ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค

(ส่วนกลาง หมายถึง พื้นที่กทม.

ใช้แผนจัดการความเสี่ยง   ผลิตภัณฑ์สุขภาพของ อย. สำหรับส่วนภูมิภาคให้จัดทำ

แผนจัดการความเสี่ยง

ในส่วนภูมิภาค

ดำเนินการเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงได้ร้อยละ 50 จากเป้าหมาย

ดำเนินการเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์สุขภาพ        กลุ่มเสี่ยงได้ร้อยละ 100 จากเป้าหมายรวม

ผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงได้มาตรฐาน

ร้อยละ 80

 
วิธีการประเมินผล

จากรายงานสรุปผลของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

เอกสารสนับสนุน
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. ผักและผลไม้สด

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ :

นางสาววรดา อ่ำบุญ                    สำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)

โทรศัพท์ : 02-590-7014              E-mail : law.dreamt@gmail.com

ผู้ประสานงานตัวชี้วัด :

นางสาวอรสุรางค์ ธีระวัฒน์            สำนักอาหาร อย.

โทรศัพท์ : 02-590-7218              โทรศัพท์มือถือ : 094-131-6136

โทรสาร : 02-591-8460               E-mail : planning.food@gmail.com

2. นมโรงเรียน

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ :

นางสาวโชตินภา เหล่าไพบูลย์        สำนักอาหาร อย.

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7218   โทรศัพท์มือถือ : 081-055-7988

โทรสาร : 02-591-8460               E-mail : fda.schoolmilk@gmail.com

ผู้ประสานงานตัวชี้วัด :

นางสาวอรสุรางค์ ธีระวัฒน์           สำนักอาหาร อย.

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7218   โทรศัพท์มือถือ : 094-131-6136

โทรสาร : 02-591-8460               E-mail : planning.food@gmail.com

3. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารหรืออาหารที่พบสารที่มีฤทธิ์ในการลดน้ำหนักหรือเสริมสร้างสมรรถภาพทางเพศ

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ :

นางสาวกนกเนตร รัตนจันท           สำนักอาหาร

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7030    โทรศัพท์มือถือ : 089-8313381

โทรสาร : 02-591-8460               E-mail : knrc@fda.moph.go.th

ผู้ประสานงานตัวชี้วัด :

นางสาวอรสุรางค์ ธีระวัฒน์            สำนักอาหาร  

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7218    โทรศัพท์มือถือ : 094-131-6136

โทรสาร : 02-591-8460                E-mail : planning.food@gmail.com

4. เครื่องสําอาง

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการและผู้ประสานงานตัวชี้วัด :

นายฉัตรชัย พานิชศุภภรณ์             สำนักควบคุมเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย อย.

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7277    โทรสาร : 02-591-8468

5. ยาแผนโบราณ

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการและผู้ประสานงานตัวชี้วัด :

ภก วราวุธ เสริมสินสิริ                   สำนักยา อย.

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-591-9623      โทรศัพท์มือถือ : 089-796-1437

E-mail : varavoot@hormail.com

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำจ้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

- สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

- สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

ส่วนภูมิภาค

1.นายอาทิตย์  พันเดช                       ตำแหน่ง : เภสัชกรชำนาญการพิเศษ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7383          โทรศัพท์มือถือ : 084-795-6951

โทรสาร : 02-591-8484                    E-mail : artypun@gmail.com

กองส่งเสริมงานคุ้มครองฯ (คบ)

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

ส่วนกลาง

1. นางนิธิวดี บัตรพรรธนะ                    ตำแหน่ง : นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ

โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7292          โทรศัพท์มือถือ : 093-329-6998

โทรสาร : 02-591-8457                    E-mail : pattana@fda.moph.go.th

กลุ่มติดตามและประเมินผล กองแผนงานและวิชาการ อย. 

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base-
Areabase Kpi Regioncode-
หมายเหตุ

การบันทึกค่า A จำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบทางห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด

  • ให้บันทึกจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบทางห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด เฉพาะไตรมาสนั้นๆ ไม่นับรวมไตรมาสก่อนหน้า

การบันทึกค่า B จำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับผลวิเคราะห์จากห้องปฏิบัติการทั้งหมด

  • ให้บันทึกจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับผลวิเคราะห์จากห้องปฏิบัติการทั้งหมด เฉพาะไตรมาสนั้นๆ ไม่นับรวมไตรมาสก่อนหน้า

การบันทึกค่า C จำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ตรวจสอบโดยชุดทดสอบเบื้องต้นที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด

  • ให้บันทึกจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ตรวจสอบโดยชุดทดสอบเบื้องต้นที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด เฉพาะไตรมาสนั้นๆ ไม่นับรวมไตรมาสก่อนหน้า

การบันทึกค่า D จำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับผลจากชุดทดสอบเบื้องต้นทั้งหมด

  • ให้บันทึกจำนวนผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับผลจากชุดทดสอบเบื้องต้นทั้งหมด เฉพาะไตรมาสนั้นๆ ไม่นับรวมไตรมาสก่อนหน้า
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
ผลการดำเนินงาน >>