ร้อยละของอำเภอผ่านเกณฑ์การประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีคุณภาพ

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete Log

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของอำเภอผ่านเกณฑ์การประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีคุณภาพ
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2562
ระดับตัวชี้วัดจังหวัด
ตัวชี้วัดที่008
Sort Order0
คำนิยาม

การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีคุณภาพ หมายถึง การประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ที่เป็นไปตามเจตนารมณ์ของระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ พ.ศ.2561 ตามองค์ประกอบ UCCARE ในประเด็นที่พื้นที่กำหนดในการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยมีผลลัพธ์การพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอที่สามารถยกระดับขึ้นหนึ่งระดับทุกข้อ หรือตั้งแต่ระดับสามขึ้นไปทุกข้อ โดยการประเมินตนเองและระดับจังหวัด

อำเภอ หมายถึง เป็นหน่วยราชการบริหารรองจากจังหวัด มีนายอำเภอเป็นหัวหน้าปกครองและเป็นผู้นำในการทำงานร่วมกับท้องถิ่นและภาคส่วนต่างๆในการดูแลประชาชนและส่งเสริมให้ประชาชนดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชนร่วมกัน โดยใช้ปัญหาความทุกข์ยากของประชาชนในพื้นที่ระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ เป็นเป้าหมายร่วมภายใต้บริบทของแต่ละพื้นที่จำนวน 878 แห่ง

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aแห่ง
นิยามของค่า Aจำนวนอำเภอที่ผ่านเกณฑ์การประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิต
หน่วยของค่า Bแห่ง
นิยามของค่า Bจำนวนอำเภอ 878 แห่ง
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 60
ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกอำเภอ ( 878 อำเภอ)
ค่าเป้าหมาย60.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

การรายงาน

แหล่งข้อมูล

สำนักงานเขตสุขภาพ / สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด /สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ/โรงพยาบาล

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญใช่
ตัวชี้วัด Area Baseใช่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 3 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2559

2560

2561

 

 

 

 

 

 
 
เกณฑ์การประเมินผล

 ปี 2562

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

มีการประชุม คัดเลือกประเด็นที่สำคัญตามบริบทในพื้นที่ที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตมาดำเนินการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหา

อย่างน้อย 2 ประเด็น

 

-มีคณะทำงาน วางแผนกำหนดแนวทางในการขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามที่พื้นที่กำหนด

-มีการบริหารจัดการ

ทรัพยากรของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต

มีการเยี่ยมเสริมพลังและประเมินผลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามแนวทาง UCCARE โดยการประเมินตนเองและผู้เยี่ยมระดับจังหวัดและเขต

อำเภอมีการดำเนินการและผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการพัฒนาคุณภาพชีวิต

ร้อยละ 60

 
วิธีการประเมินผล

1.มีการกำหนดประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต อย่างน้อย 2 ประเด็น

2.มีคณะทำงานในการขับเคลื่อนประเด็นที่กำหนด และหรือการบริหารจัดการทรัพยากรของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิต

3.มีการประเมินประเด็นปัญหาการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามองค์ประกอบ UCCARE และมีผลลัพธ์การพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพระดับอำเภอที่สามารถยกระดับขึ้นหนึ่งระดับทุกข้อหรือตั้งแต่ระดับสามขึ้นไปทุกข้อ โดยการประเมินตนเองและผู้เยี่ยมระดับจังหวัดและเขต ร้อยละ 60

เอกสารสนับสนุน

1.ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ พ.ศ.2561

2.คู่มือประกอบการพิจารณาระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ พ.ศ.2561

3.คู่มือแนวทางการดำเนินงานตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ พ.ศ.2561

4.แนวทางการประเมินคุณภาพการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นพ.ยงยศ  ธรรมวุฒิ                            ที่ปรึกษาระดับกระทรวง              

                                                            นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ(ด้านเวชกรรมป้องกัน)

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 5901238        โทรศัพท์มือถือ : 0819230536

    โทรสาร :02 590 1239                       E-mail : yyt2508@gmail.com

2. นพ.สุวัฒน์  วิริยพงษ์สุกิจ                    ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยและพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 5901238        โทรศัพท์มือถือ : 0819230536

    โทรสาร :02 590 1239                   E-mail : swiriya04@gmail.com

3.  นพ.ธีรพงษ์  ตุนาค                         ผู้อำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0 2590 1761       โทรศัพท์มือถือ : 087150 3030

    โทรสาร : 0 2590 1802                  E-mail : ttunakh@gmail.com

4. นพ.ประสิทธิ์ชัย มั่งจิตร                   รองผู้อำนวยการสำนักงานสนับสนุนระบบปฐมภูมิและคลินิกหมอครอบครัว

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02 5901238        โทรศัพท์มือถือ : 0819230536

    โทรสาร : 02 590 1239                  E-mail : peed.pr@hotmail.com

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำจ้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

สำนักงานสนับสนุนระบบปฐมภูมิและคลินิกหมอครอบครัว

สำนักงานบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยและพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่

กองบริหารการสาธารณสุ

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางจารุณี  จันทร์เพชร                     นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ 

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 025901939         โทรศัพท์มือถือ : 0817333082

    โทรสาร : 025901938                    E-mail : jchanohet@gmail.com

    สำนักงานสนับสนุนระบบปฐมภูมิและคลินิกหมอครอบครัว

2. นางเกวลิน  ชื่นเจริญสุข                   นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 025901743         โทรศัพท์มือถือ : 0898296454

    โทรสาร : 025901641                     E-mail : kavalinc@hotmail.com

    กองบริหารการสาธารณสุข

3. นางสมสินี  เกษมศิลป์                      นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 025901630         โทรศัพท์มือถือ : 0817472052

    โทรสาร : 025901641                    E-mail : somnee@hotmail.com

    กองบริหารการสาธารณสุข

4. นางเอื้อมพร  จันทร์ทอง                   นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :02 5901238         โทรศัพท์มือถือ : 0811316800

    โทรสาร : 02 590 1239                  E-mail : auam2702@gmail.com

    สำนักงานบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยและพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base-
Areabase Kpi Regioncode-
หมายเหตุ

การบันทึกค่า B (จำนวนอำเภอ)

  • ให้บันทึกจำนวนอำเภอในจังหวัด

การบันทึกค่า A (จำนวนอำเภอที่มีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ผ่านเกณฑ์คุณภาพ)

  • ให้บันทึกรวมจำนวนอำเภอที่มีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ณ สิ้นสุดไตรมาสนั้นๆ
  • เช่น ไตรมาส 1 ผ่าน 5 อำเภอ ให้บันทึก 5, ไตรมาส 2 ไม่มีผ่านเพิ่ม ให้บันทึกเป็น 5, ไตรมาส 3 ผ่านเพิ่มอีก 2 อำเภอ ให้บันทึกเป็น 7 เป็นต้น
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
ผลการดำเนินงาน >>