ร้อยละของงบประมาณด้านการวิจัยและพัฒนา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 1.5 ของงบประมาณทั้งหมด

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของงบประมาณด้านการวิจัยและพัฒนา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 1.5 ของงบประมาณทั้งหมด
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2561
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่074
Sort Order0
คำนิยาม

รัฐบาลให้ความสำคัญต่อการวิจัย การพัฒนาต่อยอดและการสร้างนวัตกรรม เพื่อนำไปสู่การผลิตและบริการที่ทันสมัย จึงได้กำหนดนโยบาย (ข้อ 8) การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการวิจัยและพัฒนาและนวัตกรรมให้สนับสนุนการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการวิจัยและพัฒนาของประเทศ เพื่อมุ่งไปสู่เป้าหมายให้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 1 ของรายได้ประชาชาติ และมีสัดส่วนรัฐต่อเอกชน 30: 70 ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จากนโยบายดังกล่าว กระทรวงสาธารณสุข จึงสนับสนุนให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเพิ่มค่าใช้จ่ายในการวิจัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 1.5 ของงบประมาณทั้งหมดต่อปี และสนับสนุนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในปีต่อไป โดยตัวชี้วัดนี้เป็นการรวบรวมงบประมาณที่แต่ละหน่วยงานได้รับทั้งหมดในปี พ.ศ. 2561 และงบประมาณที่หน่วยงานสนับสนุนเป็นค่าใช้จ่ายในการวิจัยในปี พ.ศ. 2561 เท่านั้น

งบประมาณที่เกี่ยวกับการวิจัย หมายถึง งบประมาณที่หน่วยงานสนับสนุนเป็นค่าใช้จ่ายใน การวิจัยตามโครงการวิจัย เช่น ค่าตอบแทน ค่าวัสดุ ค่าใช้สอย หรือนำเสนอผลงานวิจัย ฯลฯ ที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 (กรณีเป็นโครงการต่อเนื่องมากกว่า 1 ปี ให้แสดงวงเงินที่ได้รับจัดสรรในปีงบประมาณปัจจุบัน)

การวิจัย หมายถึง การวิจัยด้านสุขภาพ การศึกษาค้นคว้า หาความรู้ หาวิธีการใหม่ๆ คิดค้นเทคโนโลยีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการป้องกัน รักษาโรค รวมทั้งในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานทางสาธารณสุขเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี สามารถประกอบอาชีพ และดำรงชีวิตประจำวันได้อย่างปกติสุข

งบประมาณทั้งหมด หมายถึง งบประมาณที่แต่ละหน่วยงานได้รับทั้งหมดในปี พ.ศ. 2561 ได้แก่ เงินงบประมาณแผ่นดิน งบประมาณเงินรายได้ และ งบประมาณอื่น

(1) งบประมาณแผ่นดิน หมายถึง งบประมาณที่หน่วยงานได้รับจัดสรรจากสำนักงบประมาณตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2562

(2) งบประมาณเงินรายได้ หมายถึง งบประมาณที่หน่วยงานได้จัดสรรรายรับนั้นตามระเบียบว่าด้วยเงินรายได้ ฯ และหลักเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเงินรายได้ประจำปี เช่น รายได้ของค่าธรรมเนียม ค่าปรับ ค่าเช่า เป็นต้น

(3) งบประมาณอื่น หมายถึง งบประมาณอื่น ๆ ที่ไม่จัดอยู่เป็นงบประมาณแผ่นดิน (ตามข้อ 1) และงบประมาณเงินรายได้ (ตามข้อ 2) เช่น เงินกองทุน เงินของแหล่งทุนที่ขอสนับสนุนงานวิจัย เช่น สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร เป็นต้น

หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข หมายถึง หน่วยงานส่วนกลาง จำนวน    8 แห่ง ได้แก่ กรมการแพทย์ กรมควบคุมโรค กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมสุขภาพจิต       กรมอนามัย สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และหน่วยงานส่วนภูมิภาค จำนวน   12 แห่ง  ได้แก่ สำนักงานเขตสุขภาพที่ 1-12

ร้อยละของงบประมาณที่เกี่ยวกับการวิจัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 1.5 ของงบประมาณทั้งหมดต่อปี หมายถึง หน่วยงานส่วนกลาง และ หน่วยงานส่วนภูมิภาค มีการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการวิจัย ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 1.5 ของงบประมาณทั้งหมดที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ.2561

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aบาท
นิยามของค่า Aงบประมาณที่หน่วยงานสนับสนุนเป็นค่าใช้จ่ายในการวิจัยตามโครงการวิจัยทั้งหมด
หน่วยของค่า Bบาท
นิยามของค่า Bงบประมาณที่หน่วยงานได้รับทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 1.5
ประชากรกลุ่มเป้าหมายหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 8 กรม ได้แก่ 1.กรมการแพทย์ 2.กรมควบคุมโรค 3.กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 4.กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 5.กรมสุขภาพจิต 6. กรมอนามัย 7.กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 8.สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
ค่าเป้าหมาย1.50
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

สำรวจข้อมูลงบประมาณด้านการวิจัยจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

แหล่งข้อมูล

1. เอกสารและข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

2. โปรแกรมระบบตัวชี้วัด KPI ของกระทรวงสาธารณสุข จากการ Key In ของหน่วยงานส่วนกลาง และ หน่วยงานส่วนภูมิภาค http://healthkpi.moph.go.th/kpi/kpi/index/

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 2, 3 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2558

2559

2560

ร้อยละของงบประมาณด้านการวิจัยและพัฒนา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 1.5 ของงบประมาณทั้งหมด

ร้อยละ

1.5

-

-

3.46

หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข สนับสนุนเป็นค่าใช้จ่ายในการวิจัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 1.5 ของงบประมาณทั้งหมด

ร้อยละ 80

-

-

75

ร้อยละของงานวิจัย ได้รับการสนับสนุน งบประมาณ

ร้อยละ 100

 -

 -

70.50

 
เกณฑ์การประเมินผล
  1. หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการวิจัยอย่างต่อเนื่อง

ปี 2561 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

0.5 %

1.0 %

1.5 %

 

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

0.5 %

1.0 %

1.5 %

 

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

0.5 %

1.0 %

1.5 %

 

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

0.5 %

1.0 %

1.5 %

 
  1. หน่วยงานอื่นมีส่วนร่วมสนับสนุนการวิจัย

ปี 2561 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

-

1 %

2 %

3 %

 

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1 %

2 %

3 %

4 %

 

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

2 %

3 %

4 %

5 %

 

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

3 %

4 %

5 %

6 %

 
วิธีการประเมินผล

1.ระยะเวลาในการประเมิน ภายในเดือนกันยายนของปีงบประมา

2.จากผลการดำเนินงาน 4 ไตรมาศ ของหน่วยงานส่วนกลาง จำนวน 8 แห่ง และ หน่วยงานส่วนภูมิภาค จำนวน 12 แห่ง โดยจังหวัดเป็นผู้กรอกในโปรแกรมระบบตัวชี้วัด KPI ของกระทรวงสาธารณสุข http://healthkpi.moph.go.th/kpi/kpi/index/ (โปรแกรมจะแสดงเป็นภาพรวมของเขตสุขภาพ)

เอกสารสนับสนุน

1. รายงานผลการดำเนินงาน จำนวน 4 ไตรมาศ จากหน่วยงานส่วนกลาง จำนวน 8 แห่ง และ หน่วยงานส่วนภูมิภาค จำนวน 12 แห่ง

2. แผนงบประมาณที่หน่วยงานสนับสนุนเป็นค่าใช้จ่ายในการวิจัยตามโครงการวิจัยในปีงบประมาณ พ.ศ.2561

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นายแพทย์สมควร  หาญพัฒนชัยกูร      ผู้เชี่ยวชาญด้านควบคุมป้องกันโรค

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901714       โทรศัพท์มือถือ : 089-967674

    โทรสาร : 02-5919832                 E-mail : bengouy@hotmail.com

สำนักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1.สำนักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2.หน่วยงานส่วนกลาง จำนวน 8 แห่ง

3.หน่วยงานระดับเขต จำนวน 12 แห่ง รับผิดชอบติดตามข้อมูลจากหน่วยงานระดับจังหวัดในเขต

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางจิรภฎา  วานิชอังกูร                  นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901706                 โทรศัพท์มือถือ : 089-7997079

    โทรสาร : 02-5919832                 E-mail :          ppproject2016@hotmail.com

สำนักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>