ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีระบบจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ (AMR)

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของโรงพยาบาลที่มีระบบจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ (AMR)
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2561
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่029.3
Sort Order0
คำนิยาม

AMR เป็นการประเมินระบบจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ (Integrated AMR Management System) ของโรงพยาบาล ซึ่งดำเนินการทั้ง 6 กิจกรรมสำคัญ ดังนี้

กิจกรรม AMR

1 กำหนดนโยบายและมาตรการ โดยทีมบริหารจัดการ AMR

โรงพยาบาลมีคณะกรรมการ AMR* ที่ประกอบด้วยองค์ประกอบอย่างน้อย คือ (1) ผู้บริหารโรงพยาบาล (2) แพทย์ที่ได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการในการจัดการ AMR (3) ประธาน Patient Care Team (PCT) (4) พยาบาลควบคุมโรคติดเชื้อ (5) เจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานระบาดวิทยา (6) เภสัชกร (7) เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการทางจุลชีววิทยา และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

หมายเหตุ

* คณะกรรมการ AMR หมายถึง (1) คณะกรรมการ AMR ที่โรงพยาบาลตั้งขึ้นใหม่ หรือ (2) คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการที่มีอยู่เดิม แต่ปรับปรุงโครงสร้างและอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการเดิมที่มีอยู่ให้ครอบคลุมองค์ประกอบข้างต้น โดยมีผู้บริหารโรงพยาบาล และแพทย์ที่ได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการในการจัดการ AMR เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการดำเนินการ

2.การเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ

 2.1 โรงพยาบาลจัดทำ (1) antibiogram อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ตามมาตรฐานที่กำหนด เพื่อใช้ในการวางแผนจัดการ AMR ของโรงพยาบาล และ (2) ผลการทดสอบความไวของเชื้อต่อยาของโรงพยาบาล เดือนละ 1 ครั้งและส่งข้อมูล (1) และ (2) มายังกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์

2.2 โรงพยาบาลจัดทำ (1) ระบบ Lab Alert กรณีพบเชื้อดื้อยาที่สำคัญของโรงพยาบาล (2) รายงานการติดตามเชื้อดื้อยาในกระแสเลือด 8 ชนิด ได้แก่ Acinetobacter baumannii, Pseudomonas aeruginosa, Klebsiella pneumoniae, Staphylococcus aureus, Escherichia coli, Salmonella spp., Enterococcus faecium และ Streptococcus pneumoniae (ข้อมูลปีปฏิทิน 1 ม.ค. – 31 ธ.ค. ของทุกปี) และส่งมายังกองบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

3.การควบคุมกำกับดูแลการใช้ยาในโรงพยาบาล

โรงพยาบาลจัดทำรายงานติดตามปริมาณและค่าใช้จ่ายของยาต้านจุลชีพที่สำคัญ เช่น กลุ่มยา Carbapenems, cephalosporins, fluoroquinolones, Colistin และ กลุ่ม Betalactam/Betalactamase Inhibiotor (BLBI) เช่น Cefoperazone-Sulbactam, Piperacillin/tazobactam,  Amoxicillin-Clavulanic acid

4.การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

โรงพยาบาลจัดทำรายงาน (1) อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล (point prevalence surveillance) ปีละ 1 ครั้ง (2) อัตราการติดเชื้อแทรกซ้อนหลักในโรงพยาบาล เช่น VAP, CA-UTI, CLABSI เดือนละ 1 ครั้ง และ (3) รายการเชื้อก่อโรค และความไวยาของการติดเชื้อแต่ละตำแหน่งที่เป็นปัญหาสำคัญ ปีละ 1 ครั้ง และส่งข้อมูลในข้อ (1)- (3) มายังสถาบันบำราศนราดูร กรมควบคุมโรค

5. การวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ เชื่อมโยงสภาพปัญหา และนำไปสู่มาตรการดำเนินงาน

โรงพยาบาลมีการวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ ด้าน AMR และความเชื่อมโยงของสภาพปัญหา และนำไปสู่มาตรการที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา AMR ในโรงพยาบาล

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aแห่ง
นิยามของค่า Aจำนวนโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปที่ดำเนินกิจกรรม AMR ตามที่กำหนด
หน่วยของค่า Bแห่ง
นิยามของค่า Bจำนวนโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B) x 100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมาย70
ประชากรกลุ่มเป้าหมายโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป
ค่าเป้าหมาย70.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

รายงาน

แหล่งข้อมูล

ข้อมูลจากโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tagsสตป.
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1 2 3 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

ข้อมูลไตรมาส 3/2560

ร้อยละ

-

-

RDU ขั้นที่ 1  ร้อยละ 41.56

RDU ขั้นที่ 2 ร้อยละ 0.56

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2561 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

RDU ขั้นที่ 1 60%

RDU ขั้นที่ 2 5%

RDU ขั้นที่ 1 70%

RDU ขั้นที่ 2 10%

RDU ขั้นที่ 1 80%

RDU ขั้นที่ 2 15%

RDU ขั้นที่ 1 80%

RDU ขั้นที่ 2 20%

 

 

AMR 40%

AMR 70%

 

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

RDU ขั้นที่ 2 80%

 

 

 

 

 

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

RDU ขั้นที่ 2 80%

RDU ขั้นที่ 3 20%

 

 

 

 

 

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

RDU ขั้นที่ 3 80%

 

 

 

 

 
วิธีการประเมินผล

รายงาน

เอกสารสนับสนุน

ข้อมูลจากโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. ภญ.ไพรำ บุญญะฤทธิ์                     เภสัชกรชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901628       โทรศัพท์มือถือ : 092-3953289

    โทรสาร : 02-5901634                           E-mail : praecu@gmail.com

กองบริหารการสาธารณสุข (ตัวชี้วัด RDU และกิจกรรมข้อที่ 1-3 ของตัวชี้วัด AMR)

2. นางวราภรณ์ เทียนทอง                             พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5903652       โทรศัพท์มือถือ : 081-3465980

    โทรสาร : 02-5903443                           E-mail : varaporn.thientong2@gmail.com

สถาบันบำราศนราดูร (กิจกรรมข้อที่ 4 ของตัวชี้วัด AMR)

3. ดร.วันทนา ปวีณกิตติพร                   นักวิทยาศาสตร์การแพทย์เชี่ยวชาญ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-9510000 ต่อ 99302  โทรศัพท์มือถือ : 087-7059541

   โทรสาร : 02-9511486                            E-mail : wantana.p@dmsc.mail.go.th 

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (กิจกรรมข้อที่ 5 ของตัวชี้วัด AMR)

4. นพ.ฐิติพงษ์ ยิ่งยง                          นายแพทย์ชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901795       โทรศัพท์มือถือ : 081-4543593

    โทรสาร : 02-5901784                 E-mail : thity_24@yahoo.com

สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค (กิจกรรมข้อที่ 6 ของตัวชี้วัด AMR)

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กองบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (RDU/AMR)

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. ภญ.ไพรำ บุญญะฤทธิ์                      เภสัชกรชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901628       โทรศัพท์มือถือ : 092-3953289

    โทรสาร : 02-5901634                           E-mail : praecu@gmail.com

กองบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (RDU/AMR)

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>