ร้อยละของผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน ณ สถานที่ผลิต มีคุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
ผลการดำเนินงาน >>ชื่อตัวชี้วัด | ร้อยละของผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน ณ สถานที่ผลิต มีคุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด | ||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Child KPI | สร้าง KPI ย่อย | ||||||||||||||||||||||||||||
ปีงบประมาณ | 2561 | ||||||||||||||||||||||||||||
ระดับตัวชี้วัด | ประเทศ | ||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดที่ | 020.3 | ||||||||||||||||||||||||||||
Sort Order | 0 | ||||||||||||||||||||||||||||
คำนิยาม | นมโรงเรียน คือ ผลิตภัณฑ์นมพร้อมดื่ม โดยมีคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์เป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 350 พ.ศ. 2556 เรื่องนมโค และประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 364) พ.ศ. 2556 เรื่อง มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค | ||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยตัวชี้วัด | ร้อยละ | ||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า A | ผลิตภัณฑ์ | ||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า A | จำนวนผลิตภัณฑ์นมโรงเรียนที่มีผลการตรวจวิเคราะห์มีคุณภาพมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด | ||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า B | ผลิตภัณฑ์ | ||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า B | จำนวนผลิตภัณฑ์นมโรงเรียนที่ส่งตรวจและได้รับรายงานผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพมาตรฐานทั้งหมด | ||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า C | |||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า C | |||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า D | |||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า D | |||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า E | |||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า E | |||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยของค่า F | |||||||||||||||||||||||||||||
นิยามของค่า F | |||||||||||||||||||||||||||||
สูตรคำนวนตัวชี้วัด | (A/B) x 100 | ||||||||||||||||||||||||||||
Operator | >= | ||||||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์เป้าหมาย | 90 | ||||||||||||||||||||||||||||
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย | ผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน ณ สถานที่ผลิต | ||||||||||||||||||||||||||||
ค่าเป้าหมาย | 90.00 | ||||||||||||||||||||||||||||
Max Value | 100.00 | ||||||||||||||||||||||||||||
วิธีการจัดเก็บข้อมูล | 1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) (เฉพาะจังหวัดที่มีสถานที่ผลิต) ดำเนินการ ดังนี้ 1.1 กิจกรรมเฝ้าระวังประจำปี 1.1.1 ตรวจประเมินสถานที่ผลิตนมโรงเรียนทุกแห่งในจังหวัด ตามหลักเกณฑ์ GMP 1.1.2 สุ่มเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน ณ สถานที่ผลิต และ (1) นมโคชนิดพาสเจอร์ไรส์ ตรวจวิเคราะห์จำนวน 10 รายการ ได้แก่ เนื้อนมไม่รวมมันเนย มันเนย โปรตีน แบคทีเรียทั้งหมด แบคทีเรียชนิดโคลิฟอร์ม Escherichia coli, Salmonella spp, Staphylococcus aureus, Listeria monocytogenes และ Bacillus cereus (2) นมโคชนิดยูเอชที ตรวจวิเคราะห์จำนวน 9 รายการ ได้แก่ เนื้อนมไม่รวมมันเนย มันเนย โปรตีน แบคทีเรียทั้งหมด Escherichia coli, Salmonella spp., Staphylococcus aureus, Listeria monocytogenes และ Bacillus cereus โดยดำเนินการเก็บตัวอย่าง จำนวน 2 ครั้ง (1 ครั้ง/ภาคการศึกษา) ดังนี้ ภาคการศีกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ช่วงเดือน พ.ย. 60 ภาคการศีกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ช่วงเดือน มิ.ย. 61 ทั้งนี้การส่งตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ ณ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์หรือศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ โปรดระบุในหนังสือนำส่งตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ดังนี้ (1) หัวหนังสือตรงกลางด้านบน ระบุว่า “นมโรงเรียน” ด้วยตัวอักษรสีแดง (2) หัวหนังสือด้านขวาบน ระบุว่า “รอบสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา” (3) ในช่องหมายเหตุระบุว่า
“ภายใต้แผนการเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์สุขภาพ ของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ขอให้ส่งสำเนารายงานผลการตรวจวิเคราะห์ถึงสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น)” หมายเหตุ : สถานประกอบการใดที่ผลิตนมโรงเรียนทั้งชนิดยูเอชทีและพาสเจอร์ไรส์ต้องเก็บตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ให้ครบทั้ง 2 ชนิด (ชนิดละ 1 ตัวอย่าง รวม 2 ตัวอย่าง) 1.2 กิจกรรมเฝ้าระวังประจำเดือน 1.2.1 สุ่มเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน ณ สถานที่ผลิต ตรวจวิเคราะห์คุณภาพมาตรฐานเฉพาะด้านเชื้อจุลินทรีย์ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 350) พ.ศ. 2556 เรื่อง นมโค และประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 364) พ.ศ.2556 เรื่อง มาตรฐานอาหารด้านจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค โดยดำเนินการเก็บตัวอย่าง ทุกเดือน นอกเหนือจากแผนการเฝ้าระวังประจำปี โดยกำหนดให้ผู้ประกอบการรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการตรวจวิเคราะห์ และรายงานผลการดำเนินงานในแบบรายงานตัวชี้วัดที่ 2 ทั้งนี้การส่งตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ ณ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์หรือศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ โปรดระบุในหนังสือนำส่งตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ดังนี้ (1) หัวหนังสือตรงกลางด้านบน ระบุว่า “นมโรงเรียน” ด้วยตัวอักษรสีแดง (2) หัวหนังสือด้านขวาบน ระบุว่า “รอบผู้ประกอบการ” (3) ในช่องหมายเหตุระบุว่า “ขอให้ส่งสำเนารายงานผลการตรวจวิเคราะห์ถึงสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น)” หมายเหตุ : สถานประกอบการใดที่ผลิตนมโรงเรียนทั้งชนิดยูเอชทีและพาสเจอร์ไรส์ต้องเก็บตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ให้ครบทั้ง 2 ชนิด (ชนิดละ 1 ตัวอย่าง รวม 2 ตัวอย่าง) 2. รายงานข้อมูล ดังนี้ 2.1 ผลการดำเนินงานตามแบบรายงานตัวชี้วัดที่ 2 ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ : kb@fda.moph.go.th หรือเป็นหนังสือราชการมายังสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น) โดยรายงานดังนี้ ครั้งที่ ระยะเวลาการรายงาน 1 ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ภายในวันที่ 10 ธันวาคม 2560 * 2 ภายในวันที่ 20 มีนาคม 2561 3 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ภายในวันที่ 10 กรกฎาคม 2561* 4 ภายในวันที่ 15 กันยายน 2561 หมายเหตุ : 1. * เนื่องจากต้องรายงานผลการดำเนินงานต่อคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์ ในการจัดสรรสิทธิ์ 2. ตัดข้อมูลภายในวันที่กำหนดและจะดึงข้อมูลในวันถัดไป 2.2 ส่งสำเนาผลการตรวจประเมินสถานที่ผลิตและรายงานผลวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน โดยส่งเป็นหนังสือราชการมายังสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น) 3. อย. รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลรายงานผลการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศ | ||||||||||||||||||||||||||||
แหล่งข้อมูล | ส่วนกลาง : สำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ส่วนภูมิภาค : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด | ||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับกระทรวง | - | ||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับเขต | - | ||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด | - | ||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัดสำคัญ | - | ||||||||||||||||||||||||||||
ตัวชี้วัด Area Base | - | ||||||||||||||||||||||||||||
Tags | |||||||||||||||||||||||||||||
ระยะเวลาการประเมินผล | ประเมินผลสิ้นปีงบประมาณ โดยติดตามผลการดำเนินงาน รายไตรมาส | ||||||||||||||||||||||||||||
ข้อมูล Baseline |
* ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2560 | ||||||||||||||||||||||||||||
เกณฑ์การประเมินผล |
| ||||||||||||||||||||||||||||
วิธีการประเมินผล | จากรายงานสรุปผลของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา | ||||||||||||||||||||||||||||
เอกสารสนับสนุน | |||||||||||||||||||||||||||||
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (สำนักอาหาร) ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ : นางสาวโชตินภา เหล่าไพบูลย์ โทรศัพท์ 02-590-7206 ผู้ประสานงานตัวชี้วัด : นางสาวกนกเนตร รัตนจันท/ นางสาวอทิตา ชนะสิทธิ์ โทรศัพท์ 02-590-7030 | ||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง) | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (สำนักอาหาร) โทรศัพท์ 02-590-7030 | ||||||||||||||||||||||||||||
ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน | ส่วนกลาง 1. น.ส. กนกเนตร รัตนจันท นักวิชาการอาหารและยาชำนาญการพิเศษ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7030 โทรศัพท์มือถือ : 089-831-3381 โทรสาร : 02-591-8460 E-mail : planning.food@gmail.com 2. น.ส. อทิตา ชนะสิทธิ์ นักวิชาการอาหารและยาปฏิบัติการ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590-7030 โทรศัพท์มือถือ : 083-079-3508 โทรสาร : 02-591-8460 E-mail : planning.food@gmail.com 3. นางสาวมนสุวีร์ ไพชำนาญ โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5907030 โทรศัพท์มือถือ : 081-3685725 โทรสาร : 02-5918460 E-mail : planning.food@gmail.com สำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ส่วนภูมิภาค : บันทึกข้อมูลตามแบบฟอร์มการรายงานตัวชี้วัดที่ 2 โดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั่วประเทศ และส่งข้อมูลกลับมายัง อย. ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ : kb@fda.moph.go.th หรือเป็นหนังสือราชการมายังสำนักงานคณะกรรมการอาหาร และยา (กองส่งเสริมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค และท้องถิ่น) | ||||||||||||||||||||||||||||
รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base | 0 | ||||||||||||||||||||||||||||
Areabase Kpi Regioncode | 0 | ||||||||||||||||||||||||||||
หมายเหตุ | |||||||||||||||||||||||||||||
Last Update | 2021-03-24 14:22:39 | ||||||||||||||||||||||||||||
Download |