จำนวนเมืองสมุนไพร อย่างน้อยเขตละ 1 จังหวัด

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดจำนวนเมืองสมุนไพร อย่างน้อยเขตละ 1 จังหวัด
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2561
ระดับตัวชี้วัดจังหวัด
ตัวชี้วัดที่053
Sort Order0
คำนิยาม

เมืองสมุนไพร หมายถึง ภาพจำลองของโครงการที่เป็นรูปธรรมภายใต้แผนแม่บทแห่งชาติ ว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560 – 2564 โดยมุ่งเน้นให้พื้นที่ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาสมุนไพรให้เข้าสู่ระบบสุขภาพและระบบเศรษฐกิจแบบครบวงจรในระดับจังหวัด ตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง โดยอาศัยกลไกการมีส่วนร่วมตามแนวทางประชารัฐและมีผลการดำเนินงานภายใต้ 4 มาตรการ ดังนี้

          มาตรการที่ 1 สร้างความเข้มแข็งของการบริหารและนโยบายของรัฐเพื่อการขับเคลื่อนพื้นที่ฐานรากอย่างยั่งยืน

          มาตรการที่ 2 พัฒนาวัตถุดิบสมุนไพรยกระดับมูลค่าผลผลิตให้กับเกษตรกร

          มาตรการที่ 3 ขยายช่องทางการใช้ประโยชน์ เพิ่มมูลค่าและการตลาด

          มาตรการที่ 4 ส่งเสริมการใช้สมุนไพรในระบบบริการ

เมืองสมุนไพรจังหวัดนำร่อง หมายถึง จังหวัดเป้าหมาย 4 จังหวัดในแต่ละเขตสุขภาพที่ดำเนินการโครงการเมืองสมุนไพร ตั้งแต่ปี 2560 ได้แก่ จังหวัดเชียงราย (เขตสุขภาพที่ 1) จังหวัดปราจีนบุรี (เขตสุขภาพที่ 6) จังหวัดสกลนคร (เขตสุขภาพที่ 8)และจังหวัดสุราษฎร์ธานี (เขตสุขภาพที่ 11)

เมืองสมุนไพรจังหวัดส่วนขยาย หมายถึง จังหวัดเป้าหมาย 9 จังหวัดในแต่ละเขตสุขภาพที่ดำเนินการโครงการเมืองสมุนไพร ตั้งแต่ปี 2561 เป็นต้นไป ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก(เขตสุขภาพที่ 2) จังหวัดอุทัยธานี (เขตสุขภาพที่ 3)จังหวัดสระบุรี (เขตสุขภาพที่ 4)จังหวัดนครปฐม (เขตสุขภาพที่ 5)จังหวัดจันทบุรี (เขตสุขภาพที่ 6)จังหวัดมหาสารคาม (เขตสุขภาพที่ 7) จังหวัดสุรินทร์ (เขตสุขภาพที่ 9) จังหวัดอำนาจเจริญ(เขตสุขภาพที่ 10) และ จังหวัดสงขลา (เขตสุขภาพที่ 12) 

หน่วยตัวชี้วัดจำนวน
หน่วยของค่า Aจังหวัด
นิยามของค่า Aจำนวนจังหวัดที่มีผลการดำเนินการขับเคลื่อนเมืองสมุนไพรผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
หน่วยของค่า Bจังหวัด
นิยามของค่า Bจำนวนจังหวัดเป้าหมายที่ดำเนินการขับเคลื่อนเมืองสมุรไพร (13 จังหวัด)
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)X100
Operator=
เกณฑ์เป้าหมาย100
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย1. เขตสุขภาพที่ดำเนินการเมืองสมุนไพรจังหวัดนำร่อง (4 เขตสุขภาพ) ได้แก่ เขตสุขภาพที่ 1,6,8 และ 11 2. เขตสุขภาพที่ดำเนินการเมืองสมุนไพรจังหวัดส่วนขยาย (9 เขตสุขภาพ) ได้แก่ เขตสุขภาพที่ 2, 3, 4, 5, 6, 7, 9, 10 และ 12
ค่าเป้าหมาย100.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1. การประเมินความสำเร็จในการขับเคลื่อนเมืองสมุนไพรโดยการรายงานจากสำนักงาน 

    สาธารณสุขจังหวัด (รายงานทุกไตรมาส)

2. การตรวจราชการและนิเทศงาน

3. การประเมินความสำเร็จในการขับเคลื่อนเมืองสมุนไพรโดยคณะกรรมการกำกับติดตาม

   โครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร

แหล่งข้อมูล

1. ข้อมูลจากแบบประเมินความสำเร็จในการขับเคลื่อนเมืองสมุนไพรโดยการรายงานจาก

   สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (รายงานทุกไตรมาส)

2. ข้อมูลจากการตรวจราชการและนิเทศงาน

3. ข้อมูลการประเมินโดยคณะกรรมการกำกับติดตามโครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tagsสตป.
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2558

2559

2560

จำนวนเขตสุขภาพที่มีจังหวัดเมืองสมุนไพร

เขตสุขภาพ/จังหวัด

-

-

4/4

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2561:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12เดือน

จังหวัดนำร่อง

1. มีกลุ่มแกนนำด้านสมุนไพร อย่างน้อย

1 กลุ่ม                     

2. มีการจัด Zoning พื้นที่การปลูกสมุนไพร

จังหวัดนำร่อง

1. มีฐานข้อมูล ผู้ปลูก/ผู้จำหน่าย/พื้นที่ปลูก/แปรรูป/ปริมาณวัตถุดิบสมุนไพรที่ได้มาตรฐานของจังหวัด

2. มีข้อมูลความต้องการวัตถุดิบสมุนไพร/ผลิตภัณฑ์สมุนไพรของจังหวัดเมืองสมุนไพร (Demand & Supply Matching)

จังหวัดนำร่อง

1. เพิ่มจำนวน Shop/Outlet อย่างน้อยปีละ 1 แห่ง

2. มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพิ่มขึ้น

     2.1 ผลิตภัณฑ์สมุนไพร Product Champion (ไพล กระชายดำ ขมิ้นชัน บัวบก) อย่างน้อย 1 ผลิตภัณฑ์

     2.2 ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเด่นในจังหวัด อย่างน้อย

2 ผลิตภัณฑ์

จังหวัดนำร่อง

1. มีพื้นที่เพาะปลูกสมุนไพรที่ได้มาตรฐานจากแปลงปลูกมาตรฐาน GAP/GACP/Organic  จำนวนรวม 1,000 ไร่/ปี

2. มีโรงงานแปรรูปและผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรผ่านการรับรองมาตรฐาน GMP อย่างน้อย 1 แห่ง (ทั้งภาครัฐและเอกชน)

3. ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน ร้อยละ 20

4. มูลค่าของการใช้สมุนไพรในสถานบริการสาธารณสุขเพิ่มขึ้น             ร้อยละ 15

5. มูลค่าการตลาดของผลิตภัณฑ์สมุนไพรรวมเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า            ร้อยละ 15

 

 

จังหวัดส่วนขยาย

1. มีกลุ่มแกนนำด้านสมุนไพร อย่างน้อย 1 กลุ่ม

 

จังหวัดส่วนขยาย

1. มีฐานข้อมูล ผู้ปลูก/ผู้จำหน่าย/พื้นที่ปลูก/แปรรูป/ปริมาณวัตถุดิบสมุนไพรที่ได้มาตรฐานของจังหวัด

2. บุคลากรผู้เกี่ยวข้องด้านการจัดการสมุนไพรได้รับการอบรมด้านแผนธุรกิจ (Business plan)

จังหวัดส่วนขยาย

1. จัดตั้ง Shop/Outlet            อย่างน้อย 1 แห่ง

2. มีข้อมูลความต้องการวัตถุดิบสมุนไพร/ผลิตภัณฑ์สมุนไพรของจังหวัดเมืองสมุนไพร (Demand & Supply Matching)

 

จังหวัดส่วนขยาย

1. มีโรงงานแปรรูปและผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพรเตรียมการเข้าสู่มาตรฐาน GMP  อย่างน้อย 1 แห่ง (ทั้งภาครัฐและเอกชน)

2. ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน ร้อยละ 20

3. มูลค่าของการใช้สมุนไพรในสถานบริการสาธารณสุข เพิ่มขึ้น  ร้อยละ 15

4. มูลค่าการตลาดของผลิตภัณฑ์สมุนไพรรวมเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า  ร้อยละ 10

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

 

 

12 เขต  13 จังหวัด

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

 

 

12 เขต  13 จังหวัด

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

 

 

12 เขต  13 จังหวัด

 

วิธีการประเมินผล

1. ข้อมูลจากแบบประเมินความสำเร็จในการขับเคลื่อนเมืองสมุนไพรโดยการรายงาน             

   จากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

2. ข้อมูลจากการตรวจราชการและนิเทศงานของกรมการแพทย์แผนไทยและ            

   การแพทย์ทางเลือก

3. ข้อมูลการประเมินการดำเนินงานและติดตามโครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร

เอกสารสนับสนุน

1. คู่มือการดำเนินงานและติดตามโครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร

2. แผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560  - 2564

3. คู่มือการตรวจราชการและนิเทศงานกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

4. คู่มือการพัฒนาระบบบริการสาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นางสาวอัญชลี  จูฑะพุทธิ                 ผู้อำนวยการกองวิชาการและแผนงาน

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5914409        โทรศัพท์มือถือ : 085-4856900

   โทรสาร : 02-1495609                            E-mail : anchaleeuan@gmail.com

กองวิชาการและแผนงาน

2. นายวัฒนศักดิ์ ศรรุ่ง                       หัวหน้ากลุ่มงานสำนักงาน                                                                    คณะกรรมการนโยบายสมุนไพรแห่งชาติ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-1495609        โทรศัพท์มือถือ : 092-2461023

   โทรสาร : 02-1495609                            E-mail : wsornrung@gmail.com

กองวิชาการและแผนงาน

3. นางศรีจรรยา โชตึก                       หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน   

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-9659490       โทรศัพท์มือถือ : 099-2459791

    โทรสาร : 02-9659490                 E-mail : kungfu55@gmail.com

กองวิชาการและแผนงาน

4. นางกรุณา  ทศพล                         พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-9659490        โทรศัพท์มือถือ : 089-7243816

   โทรสาร : 02-9659490                            E-mail : karunathailand4.0@gmail.com

กองวิชาการและแผนงาน

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน กองวิชาการและแผนงาน

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1.นางสาวศศิธร  ใหญ่สถิต                    นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-9659490        โทรศัพท์มือถือ : 086-8812521

   โทรสาร : 02-9659490                             E-mail : kiwi_sida29@hotmail.com

กองวิชาการและแผนงาน

2.นายชัยพร  กาญจนอักษร                  แพทย์แผนไทยปฏิบัติการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-9659490        โทรศัพท์มือถือ : 095-4196394

   โทรสาร : 02-9659490                            E-mail : CKTTMMan414@hotmail.co.th

กองวิชาการและแผนงาน

3. นางสาวผุสชา จันทร์ประเสริฐ            แพทย์แผนไทยปฏิบัติการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-1495609        โทรศัพท์มือถือ : 064-3235939

   โทรสาร : 02-1495609                            E-mail : ppin1987@gmail.com

กองวิชาการและแผนงาน

4. นางสาวสุกัญญา ชายแก้ว                 นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5917809        โทรศัพท์มือถือ : 082-7298989

   โทรสาร : 02-5910218                             E-mail : sukanya0210@gmail.com

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>