ร้อยละสถานพยาบาลระดับ M และ F ที่ให้บริการการดูแลระยะกลาง

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละสถานพยาบาลระดับ M และ F ที่ให้บริการการดูแลระยะกลาง
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2561
ระดับตัวชี้วัดจังหวัด
ตัวชี้วัดที่047
Sort Order0
คำนิยาม
  • การดูแลระยะกลาง หมายถึง การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน (transitional care) ระหว่างหลังภาวะวิกฤติหรือเฉียบพลัน (acute conditions) และการดูแลที่บ้านหรือชุมชน โดยมีความเชื่อมโยงและต่อเนื่องกัน เป็นการดูแลกลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการคงที่แล้ว (medically stable*) แต่ยังไม่คงที่ถึงกับจะสามารถดูแลโดยศักยภาพ
    ที่บ้านหรือชุมชนโดยทั่วไปได้ดี ผู้ป่วยที่ต้องการการดูแลระยะกลางยังต้องการ
    การดูแลทางการแพทย์ พยาบาลหรือสหสาขาวิชาชีพในสถานพยาบาล (intermediate bed หรือ intermediate ward) โดยการดูแลหลักในช่วงนี้ไม่ต้องใช้แพทย์เฉพาะทาง หัตถการและเครื่องมือที่ซับซ้อน สามารถทำได้อย่างปลอดภัยในโรงพยาบาลระดับ M และ F ทั้งนี้ เป็นการดูแลในช่วงระยะเวลาหนึ่ง (ไม่เกิน
    6 สัปดาห์หรือ 45 วัน**)                               
  • เนื่องจากคำนิยามของการดูแลระยะกลางมีความหลากหลาย การให้ความจำกัดความ ได้คำนึงถึงบริบทของปัญหาและระบบสุขภาพของไทย เลี่ยงความซ้ำซ้อน
    กับระบบบริการเดิมที่มีอยู่โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับชุมชน การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเตียงและทรัพยากร  หลักฐานทางวิชาการ  บทเรียนจากต่างประเทศและ best practice ในประเทศ ความปลอดภัยของผู้ป่วย การยอมรับ (acceptability) การเข้าถึงบริการโดยสะดวก เน้นเติมช่องว่างที่ขาดและ
    ความเชื่อมโยงกับระบบที่มีอยู่เดิม เช่น Community-based rehabilitation, ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว หรือทีมหมอครอบครัว
  • กลุ่มเป้าหมายในระยะเริ่มต้นพัฒนา จึงเริ่มต้นจากกลุ่มผู้ป่วยหลังภาวะอัมพฤกษ์เฉียบพลัน (post-acute stroke) ภาวะบาดเจ็บทางสมองและไขสันหลัง รวมถึงกลุ่มผู้ป่วยที่เป็นปัญหาของพื้นที่ทั้งบริบทด้านการบริหารจัดการและความต้องการของผู้ป่วย ซึ่งจะสามารถบรรเทาได้ด้วยแผนการดูแลและกิจกรรมในการดูแล
    ระยะกลาง

   *ตามมาตรฐานและหลักวิชาการทางการแพทย์หรือความเห็นของแพทย์

** พิจารณาจากระยะเวลาที่เหมาะสมตามหลัก intensive rehabilitation, บทเรียนจากการพัฒนาในต่างประเทศและ best practice บางกล่ำ, หาดใหญ่, สระบุรี

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aแห่ง
นิยามของค่า Aจำนวนโรงพยาบาลระดับ M และ F ที่ดำเนินงานการดูแลระยะกลาง
หน่วยของค่า Bแห่ง
นิยามของค่า Bจำนวนโรงพยาบาลระดับ M และ F ทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 10
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย1) กลุ่มผู้ป่วยหลังภาวะอัมพฤกษ์เฉียบพลัน (post-acute stroke) 2) กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บทางสมองและไขสันหลัง 3) กลุ่มผู้ป่วยที่เป็นปัญหาของพื้นที่และต้องการการดูแลระยะกลาง เช่น กลุ่มผู้ป่วยที่มี BOR และมีความเสี่ยง re-admission สูง, กลุ่มผู้ป่วยที่ต้องการการฟื้นฟูแบบ intensive rehabilitation, กลุ่มผู้ป่วยที่ต้องการการประเมินแบบองค์รวมและฟื้นฟูสมรรถนะ, กลุ่มผู้สูงอายุ เป็นต้น
ค่าเป้าหมาย10.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

แบบรายงาน

แหล่งข้อมูล

โรงพยาบาลระดับ M และ F ที่ดำเนินงานการดูแลระยะกลาง

ตัวชี้วัดระดับกระทรวง-
ตัวชี้วัดระดับเขต-
ตัวชี้วัดระดับจังหวัด-
ตัวชี้วัดสำคัญ-
ตัวชี้วัด Area Base-
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 2 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2558

2559

2560

 

 

 

 

 

 
 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2561:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

ร้อยละ 5

 

ร้อยละ 10

 

 

 

 

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

 

 

ร้อยละ 20

 

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

 

 

ร้อยละ 30

 

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

 

 

ร้อยละ 50

วิธีการประเมินผล

สสจ.จัดเก็บข้อมูลตามแบบรายงาน

เอกสารสนับสนุน

การถอดบทเรียนการดูแลระยะกึ่งเฉียบพลันในประเทศไทย, NIH, Intermediate Care System NHS UK, British Geriatrics Society, รายงานภาวะโรค IHPP 2556, HDC    กองยุทธศาสตร์และแผนงาน

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นายแพทย์ธงธน  เพิ่มบถศรี               นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ

   โทรศัพท์ที่ทำงาน :                        โทรศัพท์มือถือ : 081-7751555

   โทรสาร :                                   E-mail : thongtana.p@dms.mail.go.thสถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์

2. นายแพทย์ประสิทธิ์ชัย มั่งจิตร            นายแพทย์เชี่ยวชาญ 

                                                รองผู้อำนวยการกองบริหารสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                        โทรศัพท์มือถือ : 081-9230536

    โทรสาร :                                  E-mail : Peed.pr@gmail.com

กองบริหารสาธารณสุข

3. นพ.ศุภศิลป์ จำปานาค                    นายแพทย์ขำนาญการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0-3634- 3500     โทรศัพท์มือถือ :    
    โทรสาร :                                  E-mail :

โรงพยาบาลสระบุรี

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. กองตรวจราชการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. นายแพทย์ภัทรวินฑ์ อัตตะสาระ          รองผู้อำนวยการสำนักนิเทศระบบการแพทย์

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906357       โทรศัพท์มือถือ : 081-9357334

    โทรสาร : 02-9659851                 E-mail :          pattarawin@gmail.com

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. ดร.จุฑาทิพย์ พิทักษ์                        นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901642       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร :                                  E-mail : kaonaina@gmail.com

2. นางสาวสุประวีณ์ เขมลาย                 นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 0-2590- 1642     โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร :                                  E-mail :

กองบริหารการสาธารณสุข

3. นายแพทย์ภัทรวินฑ์ อัตตะสาระ          รองผู้อำนวยการสำนักนิเทศระบบการแพทย์

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906357       โทรศัพท์มือถือ : 081-9357334

    โทรสาร : 02-9659851                 E-mail :          pattarawin@gmail.com

4. นายปวิช  อภิปาลกุล                      นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906352       โทรศัพท์มือถือ : 089-9594499

    โทรสาร : 02-5918279                 E-mail : moeva_dms@yahoo.com

สำนักยุทธศาสตร์การแพทย์

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base0
Areabase Kpi Regioncode0
หมายเหตุ

การบันทึกค่า B จำนวนโรงพยาบาลระดับ M และ F ทั้งหมด

  • ให้บันทึกจำนวนโรงพยาบาลระดับ M และ F ทั้งหมดในจังหวัด

การบันทึกค่า A จำนวนโรงพยาบาลระดับ M และ F ที่ดำเนินงานการดูแลระยะกลาง

  • ให้บันทึกรวมจำนวนโรงพยาบาลระดับ M และ F ที่ดำเนินงานการดูแลระยะกลาง ณ สิ้นสุดไตรมาสนั้นๆ
  • เช่น ไตรมาส 1 ผ่าน 5 รพ. ให้บันทึก 5, ไตรมาส 2 ไม่มีผ่านเพิ่ม ให้บันทึกเป็น 5, ไตรมาส 3 ผ่านเพิ่มอีก 2 รพ. ให้บันทึกเป็น 7 เป็นต้น
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>