ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2560
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่092
Sort Order0
คำนิยาม

หน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน หมายถึง หน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่มีวิกฤติทางการเงิน ตามหลักเกณฑ์การการคิดวิกฤติทางการเงิน ระดับ 7 (Risk Scoring) ดังนี้

ประเภทดัชนีชี้วัด

น้ำหนักความรุนแรงของความเสี่ยง (Risk Score)

คำอธิบาย

1. กลุ่มแสดงความคล่องตามสภาพสินทรัพย์

 

 

กลุ่มแสดงความคล่องสภาพสินทรัพย์

 

    1.1 CR < 1.5

1

CR = สินทรัพย์หมุนเวียน (หักงบลงทุน)/หนี้สินหมุนเวียน

    1.2 QR < 1.0

1

QR = เงินสด รายการเทียบเท่าเงินสดและลูกหนี้ (ไม่รวมสินค้าคงคลังและงบลงทุน)/หนี้สินหมุนเวียน

    1.3 Cash < 0.8

1

CashR = เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (ไม่รวมสินค้าคงคลังและงบลงทุน)/หนี้สินหมุนเวียน

2. กลุ่มแสดงความมั่นคงทางการเงิน

 

กลุ่มแสดงความมั่นคงทางการเงิน

     2.1 แสดงฐานะทางการเงิน (ทุนหมุนเวียน)  NWC < 0

1

เงินทุนหมุนเวียน = สินทรัพย์หมุนเวียน หัก หนี้สินหมุนเวียน

     2.2 แสดงฐานะจากผลประกอบการ (รายได้สูง/ต่ำกว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ) NI < 0

1

ผลประกอบการสุทธิ = รายได้สูง/ต่ำกว่าค่าใช้จ่าย รวม ค่าเสื่อมราคา

3. กลุ่มแสดงระยะเวลาเข้าสู่ปัญหาการเงินรุนแรง มี 2 มิติ

 

กลุ่มแสดงระยะเวลาเข้าสู่ปัญหาการเงิน

      3.1 มิติ NWC หรือทุนหมุนเวียน ที่เพียงพอรับภาระการขาดทุนเฉลี่ยต่อเดือน (กรณ๊ NWC เป็นบวก & มี NI ติดลบ)

 

กลุ่มแสดงเข้าสู่ปัญหาการเงินรุนแรงสามารถดูได้ทั้ง 2 มิติ

            a) ระยะเวลาทุนหมุนเวียนอาจหมด > 6 เดือน

0

เนื่องจากทั้ง 2 มิติ มีผลกระทบต่อความอยู่รอดของหน่วยบริการ

            b) ระยะเวลาทุนหมุนเวียนอยู่ได้ > 3 เดือน ไม่เกิน 6 เดือน

1

* กรณีมีทุนหมุนเวียนคงเหลือ แต่มีผลการดำเนินงานขากทุน หรือ

            c) ระยะเวลาทุนหมุนเวียนอยู่ได้ < หรือ = 3 เดือน

2

 

      3.2 มิติ ผลกำไรจากการดำเนินการ เพียงพอกับภาระหนี้สินหมุนเวียน (กรณ๊ NWC ติดลบ & มี NI เป็นบวก)

 

 

          a) ผลกำไร สามารถปรับ NWC เป็นบวก > 6 เดือน

2

* กรณีมีกำไรจากผลการดำเนินงาน แต่ขาดเงินทุนหมุนเวียน

          b) ผลกำไร สามารถปรับ NWC เป็นบวก > 3 เดือนไม่เกิน 6 เดือน

1

 

          c) ผลกำไร สามารถปรับ NWC เป็นบวก < หรือ = 3 เดือน

0

 

      3.3 กรณ๊ NWC ติดบวก & มี NI เป็นบวก

0

 

      3.4 กรณ๊ NWC ติดลบ & มี NI เป็นลบ

2

 

         การประเมินสถานะการเงินจะประเมินทุกสิ้นไตรมาส โดยกำหนดให้หน่วยบริการที่ได้ 7 คะแนน มีความเสี่ยงทางการเงินสูงสุด

         ทั้งนี้ ระบบข้อมูลบัญชีของหน่วยบริการที่ดีมีคุณภาพมีส่วนสำคัญที่ทำให้ผลการประเมินสถานะทางเงินมีความถูกต้อง และการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพจะช่วยแก้ไขปัญหาภาวะวิกฤติทางการเงินที่เกิดขึ้นได้

          การขับเคลื่อนการเงินการคลังปี 2560

  1. มาตรการในการขับเคลื่อนการเงินการคลัง                                                                      

                    : บทบาทของเขต จังหวัด และ หน่วยบริการ

                     : แผนงาน/กิจกรรม  

                     : ผลผลิต/ผลลัพธ์

          2.   การบริหารและกำกับแผนการเงิน (PlanFin)

          3.   เครื่องมือในการดำเนินงานการพัฒนาประสิทธิภาพ ระบบการกำกับและรายงาน

มาตรการ

                   มาตรการที่ 1: การจัดสรรเงินอย่างพอเพียง (Sufficient Allocation)

                   มาตรการที่ 2: ติดตามกำกับด้วยแผนทางการเงิน (Planfin Management)

                   มาตรการที่ 3: สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (Efficient Management)

                   มาตรการที่ 4: พัฒนาคุณภาพข้อมูลบัญชี (Accounting Audit)

                   มาตรการที่ 5: พัฒนาเครือข่ายและศักยภาพบุคลากร (Network & Capacity Building)

มาตรการขับเคลื่อน

แนวทางการดำเนินงาน

เป้าหมาย

มาตรการที่ 1:

การจัดสรรเงินอย่างพอเพียง (Sufficient Allocation)

 

1.1 จัดสรรแบบขั้นบันได Step Ladder ส่วน OP และ PP และพัฒนา IP K-Factor มาปรับอัตราจ่าย IP

1.2 การปรับเกลี่ยช่วยเหลือจากหน่วยบริการที่มีทุนสำรองสุทธิมาก

1.3 มีการกันเงินเพื่อใช้บริหารความเสี่ยงและใช้ปรับเกลี่ยให้พอเพียง ต่อรายจ่ายขั้นต่ำของหน่วยบริการ   

1.4 มีข้อเสนอเพื่อพัฒนาระบบการจัดสรร                                      

1.5 พัฒนาหลักเกณฑ์การจ่ายชดเชย

1.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีรายได้ ≥ ค่าใช้จ่าย
ค่าเป้าหมาย: ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80

1.2 ร้อยละของหน่วยบริการได้รับการจัดสรร/ชดเชยเงิน UC ตามเวลาที่กำหนด
ค่าเป้าหมาย : ร้อยละ 100

มาตรการ 2: ติดตามกำกับด้วยแผนทางการเงิน (Planfin Management)

2.1 ทุกหน่วยบริการจัดทำแผนทางการเงินปี 2560
2.2 วางระบบเฝ้าระวังตามแผนทางการเงินหน่วยบริการ (รายเดือน)
2.3 ควบคุมกำกับด้วยเปรียบเทียบแผนการเงินกับผลการดำเนินงาน (ไตรมาส)

2.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีแผนทางการเงิน (Planfin) ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์
ค่าเป้าหมาย: ร้อยละ 100

2.2 ร้อยละของหน่วยบริการที่มีผลต่างของแผนและผล ไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้และค่าใช้จ่ายสูงกว่าหรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกินร้อยละ 5)
ค่าเป้าหมาย: ไม่น้อยกว่า     ร้อยละ 80

มาตรการ 3: สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (Efficient Management)

3.1 ประเมินสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้(ยา เวชภัณฑ์ วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ ค่าตอบแทน) หน่วยบริการกลุ่มระดับเดียวกัน 20 กลุ่ม (HRG)

3.2 พัฒนาและใช้ดัชนีประเมินประสิทธิภาพในการดำเนินงาน 7 ตัว

3.3 พัฒนาและใช้เครื่องมือการประเมินประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง (FAI)

3.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้ไม่เกินค่ามัธยฐาน+1 SD ของหน่วยบริการในกลุ่มระดับเดียวกัน (20 กลุ่ม)
ค่าเป้าหมาย:
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

3.2 ร้อยละของหน่วยบริการผ่านเกณฑ์ประเมิน > 4 ตัว จากเกณฑ์ประสิทธิภาพทางการเงิน  7 ตัว
ค่าเป้าหมาย: ร้อยละ 50

3.3  ร้อยละของหน่วยบริการมีค่าเฉลี่ยคะแนน FAI >90  ค่าเป้าหมาย:
ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75

มาตรการ 4: พัฒนาคุณภาพข้อมูลบัญชี (Accounting Audit)

4.1 พัฒนาเกณฑ์การตรวจสอบคุณภาพบัญชีทางอิเล็กทรอนิกส์
4.2 จัดทำคู่มือตรวจสอบงบทดลอง
4.3 จัดทำคู่มือตรวจสอบบัญชีหน่วยบริการ

 

4.1 ร้อยละของหน่วยบริการ มีคะแนนคุณภาพบัญชี (ตรวจสอบบัญชีด้วยวิธีอิเล็กทรอนิกส์)
มีความถูกต้อง
ค่าเป้าหมาย: ร้อยละ 85
4.2 ร้อยละของหน่วยบริการ ได้รับการตรวจและมีคะแนนคุณภาพบัญชีตามเกณฑ์ที่กระทรวง/เขต กำหนดค่าเป้าหมาย: ร้อยละ 80

มาตรการ 5: พัฒนาเครือข่ายและศักยภาพบุคลากร (Network & Capacity Building)

5.1 สร้างเครือข่ายการเงินการคลังระดับเขต

5.2 พัฒนาศักยภาพCFO ระดับเขต

5.3 พัฒนาศักยภาพ Auditor ระดับเขต

5.1 จำนวนเครือข่ายการเงินการคลังทุกระดับ
ค่าเป้าหมาย:
12 เขต 76 จังหวัด

5.2 ร้อยละของ CFO ระดับเขต ผ่านการอบรมตามหลักสูตร

ค่าเป้าหมาย: ร้อยละ 80

5.3 ร้อยละของผู้ตรวจสอบบัญชี (Accounting Audit) ผ่านการอบรมตามหลักสูตร
ค่าเป้าหมาย: ร้อยละ 80

มาตรการที่ 1 :

การจัดสรรเงินอย่างพอเพียง (Sufficient Allocation)

ระดับ

แผนงาน/กิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์

เขต

1.ปรับเกลี่ยวงเงินตามที่กระทรวงกำหนดรวมทั้งกำหนดหลักเกณฑ์ในการปรับเกลี่ยตามปัญหาและบริบทของพื้นที่

2.มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาช่วยเหลือหน่วยบริการ (CF)            

3.พัฒนารูปแบบการจัดสรรเงินในเขต 

4.พัฒนาหลักเกณฑ์การจ่ายชดเชย

1. มีหลักเกณฑ์การปรับเกลี่ยระดับเขต 

2. มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาช่วยเหลือหน่วยบริการ (CF)        

3. หน่วยบริการได้รับการจัดสรรเงิน/ชดเชยเงิน UC                 

 

จังหวัด

1.มีหลักเกณฑ์ในการปรับเกลี่ยวงเงินตามที่เขตกำหนด    

2.ปรับเกลี่ยวงเงินตามที่กระทรวง/เขต กำหนด

3.ติดตามการจัดสรรงบประมาณ/ชดเชยตามเวลาที่กำหนด

 

1.หน่วยบริการได้รับการจัดสรรเงิน UC ตามหลักเกณฑ์ ที่กำหนด           

2.รายงานผลการจัดสรรเป็นรายไตรมาสและผลการจ่ายชดเชยเป็นรายเดือน

 

หน่วยบริการ

1.มีคณะกรรมการการเงินการคลังระดับหน่วยบริการจัดสรรเงินให้กับรพ.แม่ข่ายและลูกข่าย
2.คณะกรรมการฯ มีแนวทางและแผนผังการจัดสรรเงินในรพ.แม่ข่ายและลูกข่ายตามที่ส่วนกลาง/เขต กำหนด        

3. คณะกรรมการมีการจัดทำตัวเลขรายได้และรายจ่ายขั้นต่ำทั้งแม่ข่ายและลูกข่าย

1.หน่วยบริการได้รับการจัดสรรเงิน UC  

2.รายงานผลการจัดสรรเป็นรายไตรมาสและผลการจ่ายชดเชยเป็นรายเดือน

3.มีแนวทางและแผนผังการจัดสรรเงินทั้งแม่ข่ายและลูกข่าย

4. มีตัวเลขทั้งรายได้และรายจ่ายขั้นต่ำทั้งแม่ข่ายและลูกข่าย

 

 

มาตรการที่  2 :

ติดตามกำกับด้วยแผนทางการเงิน (Planfin Management)

ระดับ

แผนงาน/กิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์

เขต

1. กำหนดนโยบายและหลักเกณฑ์การจัดทำแผนทางการเงินตามกระทรวงกำหนด                                       2. วิเคราะห์ภาพรวมการจัดทำแผนทางการเงินและความเสี่ยงของหน่วยบริการในเขต (PlanFin Analysis)
3. ตรวจ อนุมัติ กำกับ ติดตามแผนและผลทางการเงิน  (7 แผน) ของจังหวัด

 

1.มีนโยบายและหลักเกณฑ์การจัดทำแผนทางการเงินตามกระทรวงกำหนด

2.ผลการวิเคราะห์ภาพรวมการจัดทำแผนทางการเงินและความเสี่ยงของหน่วยบริการในเขต (PlanFin Analysis)

3.ผลการตรวจ อนุมัติ มีแผนการกำกับ ติดตามแผนและผลทางการเงิน  (7 แผน) ของจังหวัด

จังหวัด

1. กำหนดมาตรการเพื่อขับเคลื่อนนโยบายการจัดทำแผนทางการเงินตามกระทรวงกำหนด                                            2. ตรวจสอบการจัดทำแผนทางการเงินและความเสี่ยงของหน่วยบริการในจังหวัด
3. ตรวจ อนุมัติ กำกับ ติดตามแผนและผลทางการเงิน  (7 แผน) รายเดือนของหน่วยบริการ

1.มีมาตรการเพื่อขับเคลื่อนนโยบายการจัดทำแผนทางการเงินตามกระทรวงกำหนด           

2.มีแผนทางการเงินมีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ ของหน่วยบริการในจังหวัด

3.ผลการตรวจ อนุมัติ กำกับ ติดตามแผนและผลทางการเงิน (7 แผน) รายเดือนของหน่วยบริการ

หน่วยบริการ

1.  จัดทำแผนทางการเงินให้เป็นไปตามนโยบายของ  เขต/ จังหวัด                                         2. บริหารแผนทางการเงินให้เป็นไปตามเป้าหมาย                              

3. กำกับ ติดตามแผนและผลทางการเงิน รายเดือน ( 7 แผน)

หน่วยบริการมีผลต่างของแผนและผล ไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้และค่าใช้จ่ายสูงกว่า

หรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกินร้อยละ 5)

 

มาตรการที่  3 :

สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (Efficient Management)

ระดับ

แผนงาน/กิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์

เขต

1.มีแนวทางการจัดซื้อร่วมระดับเขต

2.มีแนวทางการบริหารจัดการค่าตอบแทนร่วมกับการบริหารด้านการเงินการคลัง

3.ใช้ดัชนีประเมินประสิทธิภาพในการดำเนินงาน 7 ตัว ในการการกำกับ

4.แผนประเมินประสิทธิภาพFAI(ไขว้จังหวัด)

5.วางระบบเฝ้าระวังและการตรวจเยี่ยมพื้นที่

 

1.ลดสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้

2.มีแนวทาง หลักเกณฑ์ในการบริหารค่าตอบแทนระดับเขต

3.การประเมินตามดัชนีประสิทธิภาพในการดำเนินงาน 7 ตัว ทุกรายไตรมาส 

4.ประเมินประสิทธิ (FAI) ทุกรายไตรมาส       

5.มีระบบเฝ้าระวังและแผนการตรวจเยี่ยม

 

จังหวัด

1.มีการจัดซื้อร่วมระดับเขต

2.การบริหารจัดการค่าตอบแทนร่วมกับการบริหารด้านการเงินการคลัง

3.ใช้ดัชนีประเมินประสิทธิภาพในการดำเนินงาน 7 ตัว ในการการกำกับ

4.ประเมินประสิทธิภาพFAI) (ไขว้จังหวัด)

5.การเฝ้าระวังและการตรวจเยี่ยมพื้นที่

1.ลดสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้

2.ใช้แนวทาง หลักเกณฑ์ในการบริหารค่าตอบแทนหน่วยบริการ

3.หน่วยบริการทุกแห่งได้รับการประเมินตามดัชนีประสิทธิภาพในการดำเนินงาน 7 ตัว 

4.หน่วยบริการทุกแห่งได้ประเมินประสิทธิ (FAI)       

5.แผนการตรวจเยี่ยมพื้นที่มีความเสี่ยง วิกฤติ

 

หน่วยบริการ

1. มีการจัดซื้อร่วมระดับเขต

2.   มีการบริหารจัดการค่าตอบแทนร่วมกับการบริหารด้านการเงินการคลัง                

3.   ใช้ดัชนีประเมินประสิทธิภาพในการ      ดำเนินงาน 7 ตัว                           

4.   ประเมินประสิทธิ (FAI) (ไขว้จังหวัด)

1.ลดสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้

2.ใช้แนวทาง แนวทางหลักเกณฑ์ในการบริหารค่าตอบแทนระดับหน่วยบริการ           

3.ได้รับการประเมินตามดัชนีประสิทธิภาพในการดำเนินงาน 7 ตัว                                              

4.ได้รับการประเมินประสิทธิ  (FAI)

 

มาตรการที่  4 :

พัฒนาคุณภาพข้อมูลบัญชี (Accounting Audit)

ระดับ

แผนงาน/กิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์

เขต

1.ชี้แจงแนวทางการจัดทำบัญชีให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของกระทรวง        

2.พัฒนาหลักเกณฑ์การตรวจคุณภาพบัญชี ในเขต                        

 3.การจัดทำแผนการตรวจสอบบัญชีของหน่วยบริการทุกแห่งในจังหวัด          

 

1.มีแนวทาง คู่มือการจัดทำบัญชีให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของกระทรวง  

2.มีหลักเกณฑ์การตรวจคุณภาพบัญชี

3.มีการจัดทำแผนการตรวจสอบบัญชีของหน่วยบริการทุกแห่งในจังหวัด                                  4. กำกับ ติดตามการส่งรายงานทางการเงินให้ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา

จังหวัด

1.ชี้แจงแนวทางการจัดทำบัญชีให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของกระทรวง ให้หน่วยบริการทุกแห่งในจังหวัด                   

2.จัดทำแผนการตรวจสอบบัญชีของหน่วยบริการทุกแห่งในจังหวัด    

3.แผนพัฒนาคุณภาพ บัญชีของหน่วยบริการทุกแห่งในจังหวัด ให้ผ่านเกณฑ์     

1.กำกับ ติดตามการส่งรายงานทางการเงินให้ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา

2.มีการจัดทำแผนการตรวจสอบบัญชีของหน่วยบริการทุกแห่งในจังหวัด

3. หน่วยบริการทุกแห่งในจังหวัดได้รับการตรวจคุณภาพบัญชี และ ผ่านเกณฑ์

หน่วยบริการ

1.การจัดทำบัญชีของหน่วยบริการตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงกำหนด    

2.ติดตามผลการประเมินคุณภาพบัญชีและนำมาพัฒนา ให้ผ่านเกณฑ์

 

1.หน่วยบริการมีการส่งรายงานทางการเงินรายเดือน                  

2.หน่วยบริการได้รับการตรวจ ความถูกต้องทาง อิเล็กทรอนิกส์ของกระทรวง

3. หน่วยบริการได้รับการตรวจ คุณภาพบัญชีตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด

มาตรการที่  5 :

พัฒนาเครือข่ายและศักยภาพบุคลากร (Network & Capacity Building)

ระดับ

แผนงาน/กิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์

เขต

1. แผนการประชุม CFO เขต

2. แผนการอบรมผู้บริหารด้านการเงินการคลังร่วมกับกระทรวง                

3. แผนการอบรมการพัฒนาศักยภาพCFOและAuditor ในระดับเขตร่วมกับกระทรวง      

 

1.มีการประชุม CFO เขต 

รายไตรมาส

2.มีแผนการอบรมผู้บริหารด้านการเงินการคลังร่วมกับกระทรวง                            

3. มีแผนการอบรมการพัฒนาศักยภาพCFOและAuditorร่วมกับกระทรวง   

จังหวัด

1. แผนการประชุม CFO จังหวัด

2.แผนการอบรมผู้บริหารด้านการเงินการคลังร่วมกับกระทรวง/เขต

3. แผนการอบรมการพัฒนาศักยภาพCFOและAuditor ในระดับจังหวัด     

 

1.มีการประชุม CFO จังหวัด รายไตรมาส

2.มีแผนการอบรมผู้บริหารด้านการเงินการคลังร่วมกับกระทรวง/เขต                                       3. มีแผนการอบรมการพัฒนาศักยภาพCFO   และAuditor ในระดับจังหวัด  

หน่วยบริการ

1. แผนการประชุม CFO ระดับ CUP

2.แผนการอบรมผู้บริหารหน่วยบริการ    

3. แผนการอบรมการพัฒนาศักยภาพ ทีม CFOของหน่วยบริการ เช่นหัวหน้าฝ่ายบริหาร นักบัญชี เป็นต้น

1.มีการประชุม CFO ระดับ CUP รายไตรมาส

2.มีแผนการอบรมผู้บริหารหน่วยบริการ  

3. มีแผนการอบรมการพัฒนาศักยภาพ ทีม CFOของหน่วยบริการ เช่นหัวหน้าฝ่ายบริหาร นักบัญชี เป็นต้น

การบริหารและกำกับแผนการเงิน  PlanFin

ระดับ

การบริหารและกำกับแผนการเงิน  PlanFin

เขต

1.เขตต้องมีการกำหนดแนวทางในการบริหารการเงินการคลังการจัดทำ PlanFin ให้จังหวัดนำไปสู่การปฏิบัติ

2.เขตต้องตรวจสอบและอนุมัติแผนทางการเงิน (Planfin) หน่วยบริการมีให้  มีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ และให้หน่วยบริการปรับแผนให้ไปตามแนวทางในข้อ 1 และ การอนุมัติ

 

3.เขตต้องชี้หน่วยบริการที่มีความเสี่ยงทางการเงิน ตามผลการวิเคราะห์ตาราง PlanFin Analysis และ ความเสี่ยงการเงิน เพื่อให้จังหวัดกำกับ   เฝ้าระวังตามมาตรการการเงินการคลังของเขต

4.เขตต้องเป็นที่ปรึกษาด้านปัญหา อุปสรรค และให้การสนับสนุนข้อมูลทางวิชาการด้านการเงินการคลังในการบริหาร PlanFin 

จังหวัด

1.จังหวัดต้องมีการกำกับ PlanFin หน่วยบริการ ควบคู่กับรายงานงบการเงิน  วิเคราะห์หาสาเหตุที่ไม่เป็นไปตามแผน และ มีระบบรายงานเขต

2.จังหวัดต้องมีระบบเฝ้าระวัง ติดตาม กำกับในกลุ่มหน่วยบริการที่มีความเสี่ยงตามผลการวิเคราะห์ตารางPlanFin Analysis โดยเฉพาะในกลุ่มที่มีEBITDA ลบ , มีการลงทุนมากกว่า 20% EBITDA และฐานะเงินทุนสำรองน้อย (ติดลบ) การบริหาร PlanFin จะบริหารความเสี่ยงไม่ให้เป็นระดับ 7 

3.จังหวัดต้องให้หน่วยบริการใช้แผนปรับประสิทธิภาพ จัดทำ Business Plan ช่วยในการปรับ EBITDA จากลบ พัฒนาให้ EBITDA บวก เพื่อให้มีกระแสเงินสดเพียงพอในการดำเนินงาน ลงทุน และ เพิ่มเงินทุนสำรอง

4.จังหวัดต้องวางแผนลงตรวจเยี่ยมพื้นที่ในกลุ่มหน่วยบริการที่มีความเสี่ยงสูง (High Risk) และมีปัญหาในด้านบริหารจัดการ PlanFin มีวิกฤติการเงิน

ตลอดจน การปฏิบัติตาม LOI และ มีระบบรายงานเขต

หน่วยบริการ

1.จัดทำแผนทางการเงินให้เป็นไปตามนโยบายของเขต/ จังหวัด                                        

2.บริหารแผนทางการเงินให้เป็นไปตามเป้าหมาย                              

3.กำกับ ติดตามแผนและผลทางการเงินรายเดือน ( ทั้ง 7 แผน) ให้มีผลต่างของแผนและผล ไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้และค่าใช้จ่ายสูงกว่า หรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกินร้อยละ 5)

เครื่องมือในการดำเนินงานการพัฒนาประสิทธิภาพระบบการกำกับและรายงาน การบริหารจัดการการเงินการคลัง
 

  เครื่องมือ รายเดือน รายไตรมาส รายปี หมายเหตุ
บริหารแแผน 1.แผนการเงินการคลัง / / /  
2.การวิเคราะห์ความคุ้มค่าการลงทุน     / ตามแผนการลงทุน
ปรับประสิทธิภาพ 3.หนังสือแสดงเจตจำนงปรับปรุงประสิทธิภาพบริหารจัดการด้านการเงิน / / / กรณีที่ได้รับการช่วยเหลือ
4.แผนปรับปรุงประสิทธิภาพ / / / กรณีที่ได้รับการช่วยเหลือ
ประเมินขบวนการ 5.เกรฑ์ประเมินประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง   / /  
6.เกรฑ์ประเมินคุณภาพบัญชี     /  
7.ดัชนีวัดผลควบคุมภายในความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล     /  
การเฝ้าระวัง 8.ดัชนีวัดผลความเสี่ยงด้านการเงินการคลัง / / /  
9.ดัชนีเปรียบเทียบค่ากลางด้านการเงินการคลังหน่วยบริการ / / /  
10.ดัชนีวัดผลด้านประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร / / /  
หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aหน่วยบริการ
นิยามของค่า Aจำนวนหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน
หน่วยของค่า Bหน่วยบริการ
นิยามของค่า Bจำนวนหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขทั้งหมด (หน่วยบริการที่จัดส่งรายงานงบทดลอง)
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator<=
เกณฑ์เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 8
ประชากรกลุ่มเป้าหมายหน่วยบริการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ค่าเป้าหมาย8.00
Max Value8.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

การวิเคราะห์จากรายงานการเงินของหน่วยบริการที่ส่งส่วนกลาง (กลุ่มประกันสุขภาพ) รายไตรมาส

แหล่งข้อมูล

กลุ่มประกันสุขภาพ

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1, 2, 3 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

หน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน

ร้อยละ

ไตรมาส 1/57

ร้อยละ 11.58

ไตรมาส 2/57

ร้อยละ 12.13

ไตรมาส 3/57

ร้อยละ 12.91

ไตรมาส 4/57

ร้อยละ 9.18

ไตรมาส 1/58

ร้อยละ 6.31

ไตรมาส 2/58

ร้อยละ 5.76

ไตรมาส 3/58

ร้อยละ 12.19

ไตรมาส 4/58

ร้อยละ 15.65

ไตรมาส 1/59

ร้อยละ 8.71

ไตรมาส 2/59

ร้อยละ 5.04

ไตรมาส 3/59

ร้อยละ 9.83

ไตรมาส 4/59

ร้อยละ 13.60

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2560 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

หน่วยบริการมีแผนทางการเงิน (Planfin)
ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ ร้อยละ 100

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ไม่เกินร้อยละ 12

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ไม่เกินร้อยละ 10

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ไม่เกินร้อยละ 8

ปี 2561 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

หน่วยบริการมีแผนทางการเงิน (Planfin)
ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ ร้อยละ 100

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ไม่เกินร้อยละ 10

 

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ไม่เกินร้อยละ 8

 

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ไม่เกินร้อยละ 6

 

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

หน่วยบริการมีแผนทางการเงิน (Planfin)
ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ ร้อยละ 100

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ไม่เกินร้อยละ 8

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ไม่เกินร้อยละ 6

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ไม่เกินร้อยละ 4

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

หน่วยบริการมีแผนทางการเงิน (Planfin)
ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ ร้อยละ 100

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ไม่เกินร้อยละ 6

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ไม่เกินร้อยละ 4

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ไม่เกินร้อยละ 2

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

หน่วยบริการมีแผนทางการเงิน (Planfin)
ที่มีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ ร้อยละ 100

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ไม่เกินร้อยละ 4

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ไม่เกินร้อยละ 2

ร้อยละของหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ไม่เกินร้อยละ 0

 
วิธีการประเมินผล

การวัด/วิเคราะห์

เอกสารสนับสนุน

รายงานหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นพ.พิทักษ์พล  บุณยมาลิก                ผู้อำนวยการกลุ่มประกันสุขภาพ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :  02-5901553      โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร :                                      E-mail : pitalpolb@hotmail.com

2. นางอุทัย  เกษรา                             กลุ่มงานพัฒนาระบบการเงินการคลัง

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901595       โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร :                                     E-mail : kuthai2@hotmail.com

3. นางนิ่มอนงค์  สายรัตน์                    หัวหน้ากลุ่มงานแผนงานและประเมินผล

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901574      โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5901576                   E-mail : nimanong_15@hotmail.com

4. นางสาวอโณทัย  ไชยปาละ               กลุ่มงานแผนงานและประเมินผล

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-590 1574      โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5901576                    E-mail : meawrnothai@gmail.com

กลุ่มประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กลุ่มประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางสาวอโณทัย  ไชยปาละ                  กลุ่มงานแผนงานและประเมินผล

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901574          โทรศัพท์มือถือ :

    โทรสาร : 02-5901576                       E-mail : meawrnothai@gmail.com

กลุ่มประกันสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>