ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2560
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่088
Sort Order0
คำนิยาม

ประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน หมายถึง บุคคลซึ่งได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการป่วยกะทันหัน ซึ่งเป็นภยันตรายต่อการดำรงชีวิตหรือการทำงานของอวัยวะสำคัญจำเป็นต้องได้รับการประเมิน การจัดการและการบำบัดรักษาอย่างทันท่วงทีเพื่อป้องกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้งของการบาดเจ็บหรืออาการป่วยนั้น ซึ่งในที่นี้เรียกว่า ผู้ป่วยฉุกเฉิน และได้รับบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดยชุดปฏิบัติการฉุกเฉินที่ได้มาตรฐานตั้งแต่จุดเกิดเหตุจนถึงสถานพยาบาลโดยการสั่งการของศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ

ประชากรเป้าหมายปี 2560 = 1,500,000 ราย

ประชากรเป้าหมายปี 2561 = 1,550,000 ราย

ประชากรเป้าหมายปี 2562 = 1,600,000 ราย

ประชากรเป้าหมายปี 2563 = 1,650,000 ราย

ประชากรเป้าหมายปี 2564 = 1,700,000 ราย

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aจำนวนผู้ป่วยฉุกเฉินที่ได้รับบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดยชุดปฏิบัติการฉุกเฉินที่ได้มาตรฐานในแต่ละจังหวัดที่บันทึกในระบบ ITEMS
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bจำนวนผู้ป่วยฉุกเฉินที่เป็นเป้าหมายปี 2560 = 1,500,000 ราย
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมาย
ประชากรกลุ่มเป้าหมายประชาชนทุกคนในประเทศไทย
ค่าเป้าหมาย95.50
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

โปรแกรมระบบสารสนเทศการแพทย์ฉุกเฉิน (ITEMS)

แหล่งข้อมูล

ข้อมูลบันทึกผลการปฏิบัติการในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (ITEMS) ของแต่ละจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงใช่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tagsสตป.
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 1, 2, 3 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2557

2558

2559

1,337,035

ครั้ง

1,277,985

1,337,035

954,565

 

ปี 2559  ผลงาน 8 เดือน

เกณฑ์การประเมินผล

2560 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 25

ร้อยละ 50

ร้อยละ 75

ร้อยละ 95.5

 

ปี 2561 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 25

ร้อยละ 50

ร้อยละ 75

ร้อยละ 95.5

 

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 25

ร้อยละ 50

ร้อยละ 75

ร้อยละ 95.5

 

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 25

ร้อยละ 50

ร้อยละ 75

ร้อยละ 95.5

 

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

ร้อยละ 25

ร้อยละ 50

ร้อยละ 75

ร้อยละ 95.5

 
วิธีการประเมินผล

1. มีระบบตรวจสอบ (Audit) เอกสารแบบฟอร์มการปฏิบัติงาน

2. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลในระบบ ITEMS

เอกสารสนับสนุน

1. ข้อมูลในระบบฐานข้อมูล ITEMS

2. รายงานการตรวจสอบแบบฟอร์มการปฏิบัติงานในระบบ Audit

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นางธัณณ์จิรา ธนาศิริธัชนันท์             รองผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-8721669       โทรศัพท์มือถือ : 085-4881669

    โทรสาร : 02-8721669                    E-mail : thunjira.t@niems.go.th

2. นางสินีนุช   ไชยสิทธิ                         ผู้จัดการงานติดตามประเมินผล

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-872166         โทรศัพท์มือถือ : 081-8191669                                                                  

     โทรสาร : 02-8721603                 E-mail : sineenuch.c@niems.go.th

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางธัณณ์จิรา ธนาศิริธัชนันท์             รองผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-8721669       โทรศัพท์มือถือ : 085-4881669

    โทรสาร : 02-8721669                    E-mail : thunjira.t@niems.go.th

2. นางสินีนุช   ไชยสิทธิ                          ผู้จัดการงานติดตามประเมินผล

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-872166          โทรศัพท์มือถือ : 081-8191669                                                                  

     โทรสาร : 02-8721603                   E-mail : sineenuch.c@niems.go.th

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>