หน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน หมายถึง หน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่มีวิกฤติทางการเงิน ตามหลักเกณฑ์การคิดวิกฤติทางการเงิน ระดับ 7 (Risk Scoring) ดังนี้ป
ประเภทดัชนี้ชี้วัด
|
น้ำหนักความรุนแรงของความเสี่ยง(Risk Score)
|
คำอธิบาย
|
1. กลุ่มแสดงความคล่องตามสภาพสินทรัพย์
|
|
กลุ่มแสดงความคล่องสภาพสินทรัพย์
|
1.1 CR < 1.5
|
1
|
CR = สินทรัพย์หมุนเวียน /หนี้สินหมุนเวียน
|
1.2 QR < 1.0
|
1
|
QR = เงินสด รายการเทียบเท่าเงินสดและลูกหนี้ /หนี้สินหมุนเวียน
|
1.3 Cash < 0.8
|
1
|
Cash Ratio = เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด /หนี้สินหมุนเวียน
|
2. กลุ่มแสดงความมั่นคงทางการเงิน
|
|
กลุ่มแสดงความมั่นคงทางการเงิน
|
2.1 แสดงฐานะทางการเงิน (ทุนหมุนเวียน) NWC < 0
|
1
|
เงินทุนหมุนเวียน = สินทรัพย์หมุนเวียน หัก หนี้สินหมุนเวียน
|
2.2 แสดงฐานะจากผลประกอบการ (รายได้สูง/ต่ำกว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ) NI < 0
|
1
|
ผลประกอบการสุทธิ = รายได้ -ค่าใช้จ่าย
|
3. กลุ่มแสดงระยะเวลาเข้าสู่ปัญหาการเงินรุนแรง มี 2 มิติ
|
|
กลุ่มแสดงระยะเวลาเข้าสู่ปัญหาการเงิน
|
3.1 มิติ NWC หรือทุนหมุนเวียน ที่เพียงพอรับภาระการขาดทุนเฉลี่ยต่อเดือน (กรณี NWC เป็นบวก & มี NI ติดลบ)
|
|
กลุ่มแสดงเข้าสู่ปัญหาการเงินรุนแรงสามารถดูได้ทั้ง 2 มิติ
|
a) ระยะเวลาทุนหมุนเวียนอาจหมด > 6 เดือน
|
0
|
เนื่องจากทั้ง 2 มิติ มีผลกระทบต่อความอยู่รอดของหน่วยบริการ
|
b) ระยะเวลาทุนหมุนเวียนอยู่ได้ > 3 เดือน ไม่เกิน 6 เดือน
|
1
|
* กรณีมีทุนหมุนเวียนคงเหลือ แต่มีผลการดำเนินงานขาดทุน หรือ
|
c) ระยะเวลาทุนหมุนเวียนอยู่ได้ < หรือ = 3 เดือน
|
2
|
|
3.2 มิติ ผลกำไรจากการดำเนินการ เพียงพอกับภาระหนี้สินหมุนเวียน (กรณี NWC ติดลบ & มี NI เป็นบวก)
|
|
|
a) ผลกำไร สามารถปรับ NWC เป็นบวก > 6 เดือน
|
2
|
*กรณีมีกำไรจากผลการดำเนินงาน แต่ขาดเงินทุนหมุนเวียน
|
b) ผลกำไร สามารถปรับ NWC เป็นบวก > 3 เดือนไม่เกิน 6 เดือน
|
1
|
|
c) ผลกำไร สามารถปรับ NWC เป็นบวก < หรือ = 3 เดือน
|
0
|
|
3.3 กรณี NWC ติดบวก & มี NI เป็นบวก
|
0
|
|
3.4 กรณี NWC ติดลบ & มี NI เป็นลบ
|
2
|
|
การประเมินสถานะการเงินจะประเมินทุกสิ้นไตรมาส โดยกำหนดให้หน่วยบริการที่ได้ 7 คะแนน มีความเสี่ยงทางการเงินสูงสุด
ทั้งนี้ ระบบข้อมูลบัญชีของหน่วยบริการที่ดีมีคุณภาพมีส่วนสำคัญที่ทำให้ผลการประเมินสถานะทางเงินมีความถูกต้อง และการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพจะช่วยแก้ไขปัญหาภาวะวิกฤติทางการเงินที่เกิดขึ้นได้
การขับเคลื่อนการเงินการคลังปี 2561
- มาตรการในการขับเคลื่อนการเงินการคลัง
: บทบาทของเขต จังหวัด และ หน่วยบริการ
: แผนงาน/กิจกรรม
: ผลผลิต/ผลลัพธ์
2. การบริหารและกำกับแผนการเงิน (PlanFin)
3. เครื่องมือในการดำเนินงานการพัฒนาประสิทธิภาพ ระบบการกำกับและรายงาน
มาตรการ
มาตรการที่ 1: การจัดสรรเงินอย่างเพียงพอ (Sufficient Allocation)
มาตรการที่ 2: ติดตามกำกับด้วยแผนทางการเงิน (Planfin Management)
มาตรการที่ 3: สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (Efficient Management)
มาตรการที่ 4: พัฒนาการบริหารระบบบัญชี (Accounting Management)
มาตรการที่ 5: พัฒนาเครือข่ายและศักยภาพบุคลากรด้านการเงินการคลัง (Network & Capacity Building)
มาตรการขับเคลื่อน
|
แนวทางการดำเนินงาน
|
เป้าหมาย
|
---|
มาตรการที่ 1:
การจัดสรรเงินอย่างพอเพียง (Sufficient Allocation)
|
1.1 มีการจัดสรรเงินให้หน่วยบริการมีรายได้เพียงพอกับค่าใช้จ่าย
1.2 พัฒนาประสิทธิภาพของระบบการจัดสรรเงินให้กับหน่วยบริการ
1.3 เฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผลความเพียงพอของการจัดสรรเงินให้กับหน่วยบริการ
|
1.1 ร้อยละของหน่วยบริการ
มีรายได้ ≥ ค่าใช้จ่าย เมื่อเทียบกับแผนทางการเงิน (Planfin)
ค่าเป้าหมาย:
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
|
มาตรการ 2: ติดตามกำกับด้วยแผนทางการเงิน (Planfin Management)
|
2.1 ทุกหน่วยบริการจัดทำแผนทางการเงินปี 2560
2.2 วางระบบเฝ้าระวังตามแผนทางการเงินหน่วยบริการ (รายเดือน)
2.3 ควบคุมกำกับด้วยเปรียบเทียบแผนการเงินกับผลการดำเนินงาน (ไตรมาส)
|
2.1 ร้อยละของหน่วยบริการมีผลต่าง ของแผนและผลของรายได้ ไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้และค่าใช้จ่ายสูงกว่าหรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกิน ร้อยละ 5)
ค่าเป้าหมาย:
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
|
มาตรการ 3: สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (Efficient Management)
|
3.1 เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย จากการดำเนินงาน
- ประเมิน/ควบคุมสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้ (ยา เวชภัณฑ์ วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ ค่าตอบแทน) เปรียบเทียบกับหน่วยบริการกลุ่มระดับเดียวกัน 20 กลุ่ม (HGR)
- ประเมินรายได้ค่ารักษาพยาบาลทุกประเภทสิทธิ เปรียบเทียบกับหน่วยบริการกลุ่มระดับเดียวกัน 20 กลุ่ม (HGR)
3.2 เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน
- พัฒนาและใช้ดัชนีประเมินประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
- ประเมิน/ควบคุมประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง
- ประเมินและควบคุมประสิทธิภาพการบริหารเจ้าหนี้ ลูกหนี้ สินค้าคงคลัง และค่าตอบแทนค้างจ่าย
|
3.1 ร้อยละของหน่วยบริการผ่านเกณฑ์ประเมิน > 4 ตัว (มากกว่า ระดับ B-) จากเกณฑ์ประสิทธิภาพทางการเงิน 7 ตัว
ค่าเป้าหมาย:
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65
|
มาตรการที่ 4: พัฒนาการบริหารระบบบัญชี (Accounting Management)
|
4.1 พัฒนาระบบบัญชีให้ได้มาตรฐาน
4.2 พัฒนาระบบการตรวจสอบบัญชี
4.3 พัฒนาระบบงานสารสนเทศด้านการเงินการคลังสำหรับผู้บริหาร (Executive Information System: EIS)
4.4 พัฒนาการนำข้อมูลการเงินหน่วยบริการเข้าระบบ GFMIS
|
4.1 ร้อยละของหน่วยบริการที่มีคุณภาพบัญชีผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
ค่าเป้าหมาย: ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90(อิเล็กทรอนิกส์)
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
(ผู้ตรวจสอบบัญชี)
4.2 ร้อยละของหน่วยบริการที่เป็นศูนย์
ต้นทุนนำข้อมูลเงินนอกงบประมาณ
เข้าระบบ GFMIS
ค่าเป้าหมาย : ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 75
|
มาตรการ 5: พัฒนาเครือข่ายและศักยภาพบุคลากรด้านการเงินการคลัง (Network & Capacity Building)
|
5.1 พัฒนาศักยภาพผู้บริหารทางการเงิน (CFO)
5.2 พัฒนาศักยภาพผู้ตรวจสอบบัญชี (Auditor)
|
5.1 ร้อยละของบุคลากรด้านการเงินการคลัง (CFO และ Auditor) ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ
ค่าเป้าหมาย: ร้อยละของบุคลากรด้านการเงินการคลังที่ได้รับการอบรมตามหลักสูตร ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80
|
มาตรการที่ 1 :
การจัดสรรเงินอย่างพอเพียง (Sufficient Allocation)
ระดับ
|
แผนงาน/กิจกรรม
|
ผลผลิต/ผลลัพธ์
|
---|
เขต
|
1.ปรับเกลี่ยวงเงินตามที่กระทรวงกำหนดรวมทั้งกำหนดหลักเกณฑ์ในการปรับเกลี่ยตามปัญหาและบริบทของพื้นที่
2.มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาช่วยเหลือหน่วยบริการ (CF)
3.พัฒนารูปแบบการจัดสรรเงินในเขต
4.พัฒนาหลักเกณฑ์การจ่ายชดเชย
|
1. มีหลักเกณฑ์การปรับเกลี่ยระดับเขต
2. มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาช่วยเหลือหน่วยบริการ (CF)
3. หน่วยบริการได้รับการจัดสรรเงิน/ชดเชยเงิน UC
|
จังหวัด
|
1.มีหลักเกณฑ์ในการปรับเกลี่ยวงเงินตามที่เขตกำหนด
2.ปรับเกลี่ยวงเงินตามที่กระทรวง/เขต กำหนด
3.ติดตามการจัดสรรงบประมาณ/ชดเชยตามเวลาที่กำหนด
|
1.หน่วยบริการได้รับการจัดสรรเงิน UC ตามหลักเกณฑ์ ที่กำหนด
2.รายงานผลการจัดสรรเป็นรายไตรมาสและผลการจ่ายชดเชยเป็นรายเดือน
|
หน่วยบริการ
|
1.มีคณะกรรมการการเงินการคลังระดับหน่วยบริการจัดสรรเงินให้กับรพ.แม่ข่ายและลูกข่าย
2.คณะกรรมการฯ มีแนวทางและแผนผังการจัดสรรเงินในรพ.แม่ข่ายและลูกข่ายตามที่ส่วนกลาง/เขต กำหนด
3. คณะกรรมการมีการจัดทำตัวเลขรายได้และรายจ่ายขั้นต่ำทั้งแม่ข่ายและลูกข่าย
|
1.หน่วยบริการได้รับการจัดสรรเงิน UC
2.รายงานผลการจัดสรรเป็นรายไตรมาสและผลการจ่ายชดเชยเป็นรายเดือน
3.มีแนวทางและแผนผังการจัดสรรเงินทั้งแม่ข่ายและลูกข่าย
4. มีตัวเลขทั้งรายได้และรายจ่ายขั้นต่ำทั้งแม่ข่ายและลูกข่าย
|
มาตรการที่ 2 :
ติดตามกำกับด้วยแผนทางการเงิน (Planfin Management)
ระดับ
|
แผนงาน/กิจกรรม
|
ผลผลิต/ผลลัพธ์
|
เขต
|
1. กำหนดนโยบายและหลักเกณฑ์การจัดทำแผนทางการเงินตามกระทรวงกำหนด 2. วิเคราะห์ภาพรวมการจัดทำแผนทางการเงินและความเสี่ยงของหน่วยบริการในเขต (PlanFin Analysis)
3. ตรวจ อนุมัติ กำกับ ติดตามแผนและผลทางการเงิน (7 แผน) ของจังหวัด
|
1.มีนโยบายและหลักเกณฑ์การจัดทำแผนทางการเงินตามกระทรวงกำหนด
2.ผลการวิเคราะห์ภาพรวมการจัดทำแผนทางการเงินและความเสี่ยงของหน่วยบริการในเขต (PlanFin Analysis)
3.ผลการตรวจ อนุมัติ มีแผนการกำกับ ติดตามแผนและผลทางการเงิน (7 แผน) ของจังหวัด
|
จังหวัด
|
1. กำหนดมาตรการเพื่อขับเคลื่อนนโยบายการจัดทำแผนทางการเงินตามกระทรวงกำหนด 2. ตรวจสอบการจัดทำแผนทางการเงินและความเสี่ยงของหน่วยบริการในจังหวัด
3. ตรวจ อนุมัติ ปีละ 2 ครั้ง กำกับ ติดตามแผนและผลทางการเงิน (7 แผน) รายเดือน
|
1.มีมาตรการเพื่อขับเคลื่อนนโยบายการจัดทำแผนทางการเงินตามกระทรวงกำหนด
2.มีแผนทางการเงินมีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ ของหน่วยบริการในจังหวัด
3.ผลการตรวจ อนุมัติ ปีละ 2 ครั้ง กำกับ ติดตามแผนและผลทางการเงิน (7 แผน) รายเดือน
|
หน่วยบริการ
|
1. จัดทำแผนทางการเงินให้เป็นไปตามนโยบายของ เขต/ จังหวัด 2. บริหารแผนทางการเงินให้เป็นไปตามเป้าหมาย
3. กำกับ ติดตามแผนและผลทางการเงิน รายเดือน ( 7 แผน)
|
1. หน่วยบริการมีผลต่างของแผนและผลของรายได้ ไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้สูงกว่าหรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกินร้อยละ 5 )
ค่าเป้าหมาย : ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
2.หน่วยบริการมีผลต่างของแผนและผลของค่าใช้จ่าย ไม่เกินร้อยละ 5 (ค่าใช้จ่ายสูงกว่าหรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกินร้อยละ 5 )
ค่าเป้าหมาย : ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
|
มาตรการที่ 3 :
สร้างประสิทธิภาพการบริหารจัดการ (Efficient Management)
ระดับ
|
แผนงาน/กิจกรรม
|
ผลผลิต/ผลลัพธ์
|
เขต
|
1.มีแนวทางการจัดซื้อร่วมระดับเขต
2.มีแนวทางการบริหารจัดการค่าตอบแทนร่วมกับการบริหารด้านการเงินการคลัง
3.ใช้ดัชนีประเมินประสิทธิภาพในการดำเนินงาน 7 ตัว ในการการกำกับ
4.แผนประเมินประสิทธิภาพFAI
(ไขว้จังหวัด)
5.วางระบบเฝ้าระวังและการตรวจเยี่ยมพื้นที่
|
1.ลดสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้
2.มีแนวทาง หลักเกณฑ์ในการบริหารค่าตอบแทนระดับเขต
3.การประเมินตามดัชนีประสิทธิภาพในการดำเนินงาน 7 ตัว ทุกรายไตรมาส
4.ประเมินประสิทธิ (FAI) ทุกราย ไตรมาส
5.มีระบบเฝ้าระวังและแผนการ ตรวจเยี่ยม
|
จังหวัด
|
1.มีการจัดซื้อร่วมระดับเขต
2.การบริหารจัดการค่าตอบแทนร่วมกับการบริหารด้านการเงินการคลัง
3.ใช้ดัชนีประเมินประสิทธิภาพในการดำเนินงาน 7 ตัว ในการการกำกับ
4.ประเมินประสิทธิภาพ (FAI) (ไขว้จังหวัด)
5.การเฝ้าระวังและการตรวจเยี่ยมพื้นที่
|
1.ลดสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้
2.ใช้แนวทาง หลักเกณฑ์ในการบริหารค่าตอบแทนหน่วยบริการ
3.หน่วยบริการทุกแห่งได้รับการประเมินตามดัชนีประสิทธิภาพในการดำเนินงาน 7 ตัว
4.หน่วยบริการทุกแห่งได้ประเมินประสิทธิ (FAI)
5.แผนการตรวจเยี่ยมพื้นที่มี ความเสี่ยง วิกฤติ
|
หน่วยบริการ
|
1. มีการจัดซื้อร่วมระดับเขต
2. มีการบริหารจัดการค่าตอบแทนร่วมกับการบริหารด้านการเงินการคลัง
3. ใช้ดัชนีประเมินประสิทธิภาพในการดำเนินงาน 7 ตัว
4. ประเมินประสิทธิภาพ (FAI) (ไขว้จังหวัด)
|
1.ลดสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้
2.ใช้แนวทาง แนวทางหลักเกณฑ์ในการบริหารค่าตอบแทนระดับหน่วยบริการ
3.ได้รับการประเมินตามดัชนีประสิทธิภาพในการดำเนินงาน 7 ตัว
4.ได้รับการประเมินประสิทธิภาพ (FAI)
|
มาตรการที่ 4 :
พัฒนาการบริหารระบบบัญชี (Accounting Management)
ระดับ
|
แผนงาน/กิจกรรม
|
ผลผลิต/ผลลัพธ์
|
เขต
|
1.ควบคุม กำกับติดตาม การจัดทำบัญชีของหน่วยบริการให้เป็นไปตามนโยบายบัญชีของหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
2. ควบคุม กำกับติดการส่งข้อมูลทางการเงินให้ถูกต้อง ครบถ้วนทันเวลา
3.จัดทำแผนการตรวจสอบบัญชีของหน่วยบริการทุกแห่งในจังหวัด
|
1.ข้อมูลบัญชีที่มีคุณภาพทุกเดือน
2.แผนการตรวจสอบบัญชีของหน่วยบริการทุกแห่งในจังหวัด
3. รายผลการตรวจสอบบัญชีของหน่วยบริการ
|
จังหวัด
|
1.ควบคุม กำกับติดตาม การจัดทำบัญชีของหน่วยบริการให้เป็นไปตามนโยบายบัญชีของหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
2. ติดตามผลการประเมินคุณภาพบัญชีของหน่วยบริการและนำมาพัฒนาให้ผ่านเกณฑ์
3. ให้คำปรึกษา แนะนำการปฏิบัติงานด้านบัญชี
|
1.กำกับ ติดตามการส่งรายงานทางการเงินให้ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลาทุกเดือน
2. ข้อมูลบัญชีที่มีคุณภาพและผ่านเกณฑ์การประเมินรายเดือน
|
หน่วยบริการ
|
1.จัดทำบัญชีให้เป็นไปตามคู่มือของหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
2.ส่งรายงานข้อมูลงบทดลองให้เป็นตามแนวทางที่กำหนด
3. รวบรวมเอกสารหลักฐานสำหรับการตรวจสอบบัญชีจากผู้ตรวจสอบภายในและภายนอก
|
1.ข้อมูลบัญชีที่มีคุณภาพข้อมูลบัญชีที่มีคุณภาพรายเดือน
2. งบการเงินผ่านการตรวจสอบโดยผู้ตรวจสอบบัญชีปีละ 1 ครั้ง
|
มาตรการที่ 5 :
พัฒนาเครือข่ายและศักยภาพบุคลากรด้านการเงินการคลัง (Network & Capacity Building)
ระดับ
|
แผนงาน/กิจกรรม
|
ผลผลิต/ผลลัพธ์
|
เขต
|
1. แผนการประชุม CFO เขต
2. แผนการอบรมผู้บริหารด้านการเงินการคลังร่วมกับกระทรวง
3. แผนการอบรมการพัฒนาศักยภาพCFOและAuditor ในระดับเขตร่วมกับกระทรวง
|
1.มีการประชุม CFO เขต
รายไตรมาส
2.มีแผนการอบรมผู้บริหารด้านการเงินการคลังร่วมกับกระทรวง
3. มีแผนการอบรมการพัฒนาศักยภาพCFOและAuditorร่วมกับกระทรวง
|
จังหวัด
|
1. แผนการประชุม CFO จังหวัด
2.แผนการอบรมผู้บริหารด้านการเงินการคลังร่วมกับกระทรวง/เขต
3. แผนการอบรมการพัฒนาศักยภาพCFOและAuditor ในระดับจังหวัด
|
1.มีการประชุม CFO จังหวัด รายไตรมาส
2.มีแผนการอบรมผู้บริหารด้านการเงินการคลังร่วมกับกระทรวง/เขต 3. มีแผนการอบรมการพัฒนาศักยภาพCFO และAuditor ในระดับจังหวัด
|
หน่วยบริการ
|
1. แผนการประชุม CFO ระดับ CUP
2.แผนการอบรมผู้บริหารหน่วยบริการ
3. แผนการอบรมการพัฒนาศักยภาพ ทีม CFOของหน่วยบริการ เช่นหัวหน้าฝ่ายบริหาร นักบัญชี เป็นต้น
|
1.มีการประชุม CFO ระดับ CUP รายไตรมาส
2.มีแผนการอบรมผู้บริหารหน่วยบริการ
3. มีแผนการอบรมการพัฒนาศักยภาพ ทีม CFOของหน่วยบริการ เช่นหัวหน้าฝ่ายบริหาร นักบัญชี เป็นต้น
|
การบริหารและกำกับแผนการเงิน PlanFin
ระดับ
|
การบริหารและกำกับแผนการเงิน PlanFin
|
เขต
|
1.เขตต้องมีการกำหนดแนวทางในการบริหารการเงินการคลังการจัดทำ PlanFin ให้จังหวัดนำไปสู่การปฏิบัติ
2.เขตต้องตรวจสอบและอนุมัติแผนทางการเงิน (Planfin) หน่วยบริการมีให้ มีความครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์ และให้หน่วยบริการปรับแผนให้ไปตามแนวทางในข้อ 1 และ การอนุมัติ
3.เขตต้องชี้หน่วยบริการที่มีความเสี่ยงทางการเงิน ตามผลการวิเคราะห์ตาราง PlanFin Analysis และ ความเสี่ยงการเงิน เพื่อให้จังหวัดกำกับ เฝ้าระวังตามมาตรการการเงินการคลังของเขต
4.เขตต้องเป็นที่ปรึกษาด้านปัญหา อุปสรรค และให้การสนับสนุนข้อมูลทางวิชาการด้านการเงินการคลังในการบริหาร PlanFin
|
จังหวัด
|
1.จังหวัดต้องมีการกำกับ PlanFin หน่วยบริการ ควบคู่กับรายงานงบการเงิน วิเคราะห์หาสาเหตุที่ไม่เป็นไปตามแผน และ มีระบบรายงานเขต
2.จังหวัดต้องมีระบบเฝ้าระวัง ติดตาม กำกับในกลุ่มหน่วยบริการที่มีความเสี่ยงตามผลการวิเคราะห์ตารางPlanFin Analysis โดยเฉพาะในกลุ่มที่มีEBITDA ลบ , มีการลงทุนมากกว่า 20% EBITDA และฐานะเงินทุนสำรองน้อย (ติดลบ) การบริหาร PlanFin จะบริหารความเสี่ยงไม่ให้เป็นระดับ 7
3.จังหวัดต้องให้หน่วยบริการใช้แผนปรับประสิทธิภาพ จัดทำ Business Plan ช่วยในการปรับ EBITDA จากลบ พัฒนาให้ EBITDA บวก เพื่อให้มีกระแสเงินสดเพียงพอในการดำเนินงาน ลงทุน และ เพิ่มเงินทุนสำรอง
4.จังหวัดต้องวางแผนลงตรวจเยี่ยมพื้นที่ในกลุ่มหน่วยบริการที่มีความเสี่ยงสูง (High Risk) และมีปัญหาในด้านบริหารจัดการ PlanFin มีวิกฤติการเงิน
ตลอดจน การปฏิบัติตาม LOI และ มีระบบรายงานเขต
|
หน่วยบริการ
|
1.จัดทำแผนทางการเงินให้เป็นไปตามนโยบายของเขต/ จังหวัด
2.บริหารแผนทางการเงินให้เป็นไปตามเป้าหมาย
3.กำกับ ติดตามแผนและผลทางการเงินรายเดือน ( ทั้ง 7 แผน) ให้มีผลต่างของแผนและผล ไม่เกินร้อยละ 5
3.1 หน่วยบริการมีผลต่างของแผนและผลของรายได้ ไม่เกินร้อยละ 5 (รายได้สูงกว่าหรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกินร้อยละ 5 )
3.2 หน่วยบริการมีผลต่างของแผนและผลของค่าใช้จ่าย ไม่เกินร้อยละ 5 (ค่าใช้จ่ายสูงกว่าหรือต่ำกว่าแผนได้ไม่เกินร้อยละ 5 )
|
|