ร้อยละของจังหวัดที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของจังหวัดที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2561
ระดับตัวชี้วัดประเทศ
ตัวชี้วัดที่058
Sort Order0
คำนิยาม

1. จังหวัด หมายถึง จังหวัดที่มีหน่วยบริการสาธารณสุขสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ ที่ตั้งอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ ทั้งเขตสุขภาพ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และหน่วยงานในความรับผิดชอบของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

2. บุคลากรสาธารณสุข หมายถึง บุคลากรสาธารณสุขทั้งหมด (ทุกประเภทการจ้าง)

   - ข้าราชการ

   - พนักงานราชการ

   - ลูกจ้างประจำ

   - ลูกจ้างชั่วคราว (ยกเว้น ลูกจ้างรายคาบ /รายวัน/จ้างเหมาบริการ)

   - พนักงานกระทรวงสาธารณสุข

ในหน่วยงานสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (เขตสุขภาพ รพศ. รพท. และหน่วยงานในความรับผิดชอบของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด) ทุกระดับ ทุกสายงาน

3. บุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ หมายถึง อัตรากำลังที่มีอยู่จริง ของหน่วยบริการสาธารณสุขสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ (นับตามปีงบประมาณ)
คิดเป็นร้อยละ 80 ขึ้นไป เมื่อเทียบกับกรอบอัตรากำลังที่ควรมี (FTE) ที่กำหนดในระดับหน่วยงาน

4. ร้อยละของจังหวัดที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ หมายถึง จำนวนของจังหวัดซึ่งมีหน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับที่มีอัตรากำลังที่มีอยู่จริง (นับตามปีงบประมาณ) มีสัดส่วนคิดเป็นร้อยละ 80 ขึ้นไป เมื่อเทียบกับกรอบอัตรากำลังที่ควรมี (FTE) ที่กำหนดในระดับหน่วยงาน

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aจังหวัด
นิยามของค่า Aจำนวนจังหวัดที่มีบุคลากรสาธารณสุข คิดเป็นร้อยละ 80 ขึ้นไปของกรอบอัตรากำลังที่ควรมี ที่กำหนดในระดับหน่วยงาน
หน่วยของค่า Bจังหวัด
นิยามของค่า Bจำนวนจังหวัดทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย1. บุคลากรสาธารณสุข (ทุกประเภทการจ้าง) 2. หน่วยบริการสาธารณสุขในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับทั้งเขตสุขภาพ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และหน่วยงานในความรับผิดชอบของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
ค่าเป้าหมาย60.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

วิเคราะห์จากระบบฐานข้อมูล HROPS ของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เทียบกับ

กรอบอัตรากำลังที่ควรมี ที่กำหนดในระดับหน่วยงาน

แหล่งข้อมูล

1. ฐานข้อมูลระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการบุคลากรสาธารณสุข (HROPS)

   สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. กรอบอัตรากำลังที่ควรมี ที่กำหนดในระดับหน่วยงาน

3. แผนกำลังคนด้านสุขภาพ ใช้ข้อมูลจากเอกสารแผนกำลังคนด้านสุขภาพของแต่ละเขตสุขภาพ

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2558

2559

2560

ร้อยละของอำเภอที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ

ร้อยละ

-

-

ร้อยละ 80 ขึ้นไป

 
 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2561 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

หน่วยบริการสาธารณสุขมีการบริหารจัดการข้อมูลบุคลากรด้านกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ

ทุกเขตสุขภาพมีแผนกำลังคนด้านสุขภาพ

ทุกเขตสุขภาพมีการดำเนินการตามแผนกำลังคนด้านสุขภาพ

ร้อยละ 60 ของจังหวัดที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ คิดเป็นร้อยละ 80 ขึ้นไป

 

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

หน่วยบริการสาธารณสุขมีการบริหารจัดการข้อมูลบุคลากรด้านกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ

ทุกเขตสุขภาพมีการดำเนินการตามแผนกำลังคนด้านสุขภาพ

ทุกเขตสุขภาพมีการดำเนินการตามแผนกำลังคนด้านสุขภาพ

ร้อยละ 70 ของจังหวัดที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ คิดเป็นร้อยละ 80 ขึ้นไป

 

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

หน่วยบริการสาธารณสุขมีการบริหารจัดการข้อมูลบุคลากรด้านกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ

ทุกเขตสุขภาพมีการดำเนินการตามแผนกำลังคนด้านสุขภาพ

ทุกเขตสุขภาพมีการดำเนินการตามแผนกำลังคนด้านสุขภาพ

ร้อยละ 80 ของจังหวัดที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ คิดเป็นร้อยละ 80 ขึ้นไป

 

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

หน่วยบริการสาธารณสุขมีการบริหารจัดการข้อมูลบุคลากรด้านกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ

ทุกเขตสุขภาพมีการดำเนินการตามแผนกำลังคนด้านสุขภาพ

ทุกเขตสุขภาพมีการดำเนินการตามแผนกำลังคนด้านสุขภาพ

ร้อยละ 90 ของจังหวัดที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ คิดเป็นร้อยละ 80 ขึ้นไป

 
วิธีการประเมินผล

วิเคราะห์ข้อมูลจากฐานข้อมูล HROPS

เอกสารสนับสนุน
ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นายสรรเสริญ  นามพรหม                ผู้อำนวยการกองบริหารทรัพยากรบุคคล

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901410       โทรศัพท์มือถือ : 089-6133454

    โทรสาร : 02-5901421                 E-mail : sansernx@gmail.com

กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. นายพรชัย ปอสูงเนิน                      นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901858       โทรศัพท์มือถือ : 062-9599862

โทรสาร : 02-5901858                     E-mail : hrmoph@gmail.com

กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. นางสาวณัฐธยาน์กร  เดชา                นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901341       โทรศัพท์มือถือ : 081-7322812

    โทรสาร : 02-5901421                 E-mail : pink1327@hotmail.com

กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางสาวเปรมฤทัย  เครือเรือน            นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901344       โทรศัพท์มือถือ : 085-3252098

    โทรสาร : 02-5901421                 E-mail : p.khruaruan@gmail.com

กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

2. นางสาวสุดใจ  จันทร์เลื่อน                นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901344       โทรศัพท์มือถือ : 081-8897796

    โทรสาร : 02-5901421                 E-mail : sudjaich1@gmail.com

กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>