อัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป (ทั้งที่ ER และ Admit)

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดอัตราการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป (ทั้งที่ ER และ Admit)
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2561
ระดับตัวชี้วัดจังหวัด
ตัวชี้วัดที่050
Sort Order0
คำนิยาม

ECS : Emergency Care System (ระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ)
หมายถึง
ระบบการบริหารจัดการเพื่อให้ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับการดูแลรักษาที่มีคุณภาพและป้องกันภาวะทุพพลภาพ ที่อาจเกิดขึ้น ทั้งในภาวะปกติ และ ภาวะภัยสุขภาพประกอบด้วย การดูแลผู้ป่วยก่อนถึงโรงพยาบาล (EMS) การดูแลในห้องฉุกเฉิน (ER) การส่งต่อระหว่างสถานพยาบาล (Referral System) การจัดการสาธารณภัยด้านการแพทย์และสาธารณสุข (Disaster)

แนวคิดการจัดบริการ ECS คือ การพัฒนา “ห่วงโซ่คุณภาพ (Chain of Quality)” ได้แก่ EMS คุณภาพ, ER คุณภาพ, Refer คุณภาพ และ Disaster คุณภาพ เพื่อสร้าง “ห่วงโซ่แห่งการรอดชีวิต (Chain of Survival)” ของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน โดยมีเป้าประสงค์ 1) เพิ่มการเข้าถึงบริการของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน 2) ลดอัตราการเสียชีวิตและภาวะทุพพลภาพที่ป้องกันได้ (Preventable Death) จากการเจ็บป่วยฉุกเฉิน                3) ระบบ ECS ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน

การพัฒนา ECS ในปี 2561-2565 จะมุ่งเน้นการพัฒนา ER คุณภาพ

“ผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน” หมายถึง ผู้มารับบริการ ณ ห้องฉุกเฉินและได้รับการคัดแยกเป็น Triage Level 1 และ 2

“การเสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมง” หมายถึง นับจากเวลาที่ผู้ป่วยมาห้องฉุกเฉินถึงเวลาที่เสียชีวิต (Door to Death) ภายใน 24 ชั่วโมง ซึ่งรวมถึงการเสียชีวิตในห้องฉุกเฉิน

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aคน
นิยามของค่า Aจำนวนผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินที่เสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมง
หน่วยของค่า Bคน
นิยามของค่า Bจำนวนผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินทั้งหมด
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator<=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 12
ประชากรกลุ่มเป้าหมายโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ระดับ F2 ขึ้นไป
ค่าเป้าหมาย12.00
Max Value12.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

HDC

1. ผู้เจ็บป่วยเสียชีวิตจากแฟ้ม DEATH, SERVICE, ADMISSION เชื่อมโยงด้วยรหัสบัตรประชาชน

2. ระยะเวลาจากแฟ้ม DEATH, SERVICE, ADMISSION

3. ผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินจากแฟ้ม ACCIDENT

แหล่งข้อมูล

มาตรฐาน 43 แฟ้มกระทรวงสาธารณสุข

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tagsสตป.,43 แฟ้ม
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2558

2559

2560

 

ร้อยละ

N/A

N/A

N/A

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2561 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1.ระบบข้อมูล

- มี National Triage

- จัดทำคู่มือ ER คุณภาพ และความปลอดภัย(ER Safety Goals)

- ปรับปรุงเกณฑ์ประเมินคุณภาพระบบการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน (ECS)

- จัดทำมาตรฐานข้อมูลห้องฉุกเฉิน

- สื่อสารนโยบายและการดำเนินงานพัฒนาห้องฉุกเฉิน

1. ระบบข้อมูล

  - จำนวน รพ. F2    ขึ้นไป ส่งข้อมูลแฟ้ม Accident ร้อยละ 40

2. การจัดการสาธารณภัยในสถานพยาบาล

   - จำนวนโรงพยาบาลตั้งแต่ F2 ขึ้นไปที่ประเมิน Hospital Safety Index       ร้อยละ 40

3. ER คุณภาพ

  - จำนวนโรงพยาบาลระดับ M1, S, A        มี TEA unit ที่ได้มาตรฐาน ร้อยละ 40

1. ระบบข้อมูล

  - จำนวน รพ. F2    ขึ้นไป ส่งข้อมูลแฟ้ม Accident ร้อยละ 60

2. การจัดการสาธารณภัยในสถานพยาบาล

   - จำนวนโรงพยาบาลตั้งแต่ F2 ขึ้นไปที่ประเมิน Hospital Safety Index      ร้อยละ 60

- จำนวนของโรงพยาบาลตั้งแต่ F2 ขึ้นไปผ่านเกณฑ์ ECS คุณภาพ ร้อยละ 70

3. ER คุณภาพ

  - จำนวนโรงพยาบาลระดับ M1, S, A มี TEA unit ที่ได้มาตรฐาน ร้อยละ 60

1. ระบบข้อมูล

  - จำนวน รพ. F2   ขึ้นไป ส่งข้อมูลแฟ้ม Accident ร้อยละ 80

2. การจัดการสาธารณภัยในสถานพยาบาล

   - จำนวนโรงพยาบาลตั้งแต่ F2 ขึ้นไปที่ประเมิน Hospital Safety Index        ร้อยละ 80

3. ER คุณภาพ

  - จำนวนโรงพยาบาลระดับ M1, S, A มี TEA unit ที่ได้มาตรฐาน ร้อยละ 80

 

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

ร้อยละ 10

 

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

ร้อยละ 8

 

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

ร้อยละ 6

 
วิธีการประเมินผล

ขั้นตอนที่ 1 โรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไปมีคณะกรรมการพัฒนาระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาลและ TEA Unit ในโรงพยาบาลระดับ ขึ้นไปเพื่อทำหน้าที่

จัดทำสถิติบริการห้องฉุกเฉินแยกตามระดับการคัดแยก

รวบรวมข้อมูลการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินที่ Admit จากห้องฉุกเฉินภายใน 24 ชั่วโมง

วิเคราะห์โรคและสาเหตุการเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉิน

Audit เพื่อค้นหาโอกาสการพัฒนา และจัดทำข้อเสนอแนะ

วางแผนการพัฒนาโดยจัดลำดับความสำคัญ

นำแผนไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม

ติดตามและประเมินผลทุก 1-3 เดือน

ขั้นตอนที่ 2 เขตสุขภาพ /สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 

จัดทำสถิติบริการห้องฉุกเฉินแยกตามระดับการคัดแยกตามระดับโรงพยาบาล

     2.2 เปรียบเทียบเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินที่ Admit จากห้องฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ตามระดับโรงพยาบาล/จังหวัด

     2.3 สนับสนุนงบประมาณ ครุภัณฑ์ การฝึกอบรม

ขั้นตอนที่ 3 ส่วนกลาง

     3.1 จัดทำสถิติบริการห้องฉุกเฉินแยกตามระดับการคัดแยกตามระดับโรงพยาบาล/เขต

     3.2 เปรียบเทียบเสียชีวิตของผู้เจ็บป่วยวิกฤตฉุกเฉินที่ Admit จากห้องฉุกเฉิน ภายใน 24 ชั่วโมง ตามระดับโรงพยาบาล/เขต

     3.3 วิเคราะห์ในระดับนโยบาย เช่น สนับสนุน คน การอบรม งบประมาณ เครื่องมือ

เอกสารสนับสนุน

http://www.who.int/bulletin/volumes/91/5/12-112664/en/คู่มือความปลอดภัยผู้ป่วย (National Patient Safety Goal) SIMPLE

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

 

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ

1. พ.ญ.นฤมล   สวรรค์ปัญญาเลิศ           หัวหน้ากลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์              

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906286       โทรศัพท์มือถือ : 081-8424148

    โทรสาร : 02-5918276                     E-mail : mertthailand@gmail.com

                                                                    Ieip.dms@gmail.com

กรมการแพทย์

2. น.พ.รัฐพงษ์  บุรีวงศ์                       แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 035-211888 ต่อ 2103     โทรศัพท์มือถือ : 086-5694886

    โทรสาร : 035-242182                   E-mail : rattapong.b@gmail.com

โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา

3. นพ.ชาติชาย   คล้ายสุบรรณ             

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                        โทรศัพท์มือถือ : 086-1414769

    โทรสาร : 037-211297                   E-mail : beera024@gmail.com

โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ จ.ปราจีนบุรี

4. นพ.ไพโรจน์ เครือกาญจนา                หัวหน้ากลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                         โทรศัพท์มือถือ : 081-6400614

    โทรสาร :                                      E-mail :

โรงพยาบาลราชวิถี

5. นพ.สัจจะ ชลิตาภรณ์

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                        โทรศัพท์มือถือ : 095-9254656

    โทรสาร :                                      E-mail : tsenjoyme@gmail.com

กลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี

6. นพ.เกษมสุข  โยธาสมุทร       

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                       โทรศัพท์มือถือ : 083-8033310

    โทรสาร :                                    E-mail : k.yothasamutr@gmail.com

กลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลเลิดสิน

7. นางธัณณ์จิรา ธนาศิริธัชนันท์             รองผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                        โทรศัพท์มือถือ : 085-4881669

    โทรสาร :                                     E-mail : thunjira.t@niems.go.th

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นพ.กิตติ์พงศ์ สัญชาตวิรุฬห์               ผู้อำนวยการสำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                        โทรศัพท์มือถือ : 081-2554711

    โทรสาร :                                     Email : dr_nok@yahoo.com

สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน

2. นพ.สุนทร ชินประสาทศักดิ์               รองผู้อำนวยการสำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                        โทรศัพท์มือถือ : 081-6606069

    โทรสาร :                                    Email: soontornchin@gmail.com

สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน

3. พ.ญ.นฤมล  สวรรค์ปัญญาเลิศ            หัวหน้ากลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์           

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906286       โทรศัพท์มือถือ : 081-8424148

    โทรสาร : 02-5918276                    E-mail : mertthailand@gmail.com

                                                                  Ieip.dms@gmail.com

กรมการแพทย์

4. นางนริศรา  แย้มทรัพย์                    นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906285     โทรศัพท์มือถือ : 081-9883925

    โทรสาร : 02-5918276                   E-mail : narissara.yamsub@gmail.com

กลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์ กรมการแพทย์

5. นางพรทิพย์ บุนนาค                       นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                       โทรศัพท์มือถือ : 081-9241771

    โทรสาร :                                     Email: pherex099@gmail.com

สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน  

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

1. พ.ญ.นฤมล  สวรรค์ปัญญาเลิศ            หัวหน้ากลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์           

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906286       โทรศัพท์มือถือ : 081-8424148

    โทรสาร : 02-591-8276                   E-mail : mertthailand@gmail.com

                                                                  Ieip.dms@gmail.com

กรมการแพทย์

2. นางนริศรา  แย้มทรัพย์                      นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906285       โทรศัพท์มือถือ : 081-9883925

    โทรสาร : 02-5918276                    E-mail : narissara.yamsub@gmail.com

กลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์ กรมการแพทย์

3. นพ.สุนทร ชินประสาทศักดิ์               รองผู้อำนวยการสำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                        โทรศัพท์มือถือ : 081-6606069

    โทรสาร :                                     Email: soontornchin@gmail.com

สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน

4. นายโสรัจจะ  ชูแสง                       หัวหน้างานบริหารระบบสารสนเทศ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                       โทรศัพท์มือถือ : 081-8271669 

    โทรสาร :                                   Email : sorajja.c@niems.go.th

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. พ.ญ.นฤมล   สวรรค์ปัญญาเลิศ           หัวหน้ากลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์             

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906286       โทรศัพท์มือถือ : 081-8424148

    โทรสาร : 02-591-8276                   E-mail : mertthailand@gmail.com

                                                                  Ieip.dms@gmail.com

กรมการแพทย์

2. นางนริศรา   แย้มทรัพย์                     นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5906285        โทรศัพท์มือถือ : 081-9883925

    โทรสาร : 02-5918276                     E-mail : narissara.yamsub@gmail.com

กลุ่มฉุกเฉินทางการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

3. นพ.ชาติชาย  คล้ายสุบรรณ 

    โทรศัพท์ที่ทำงาน :                        โทรศัพท์มือถือ : 086-1414769

    โทรสาร : 037-211297                    E-mail : beera024@gmail.com

โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ จ.ปราจีนบุรี

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>