ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2561
ระดับตัวชี้วัดจังหวัด
ตัวชี้วัดที่033
Sort Order0
คำนิยาม

1. ผู้ป่วยนอก หมายถึง ประชาชนที่มารับบริการตรวจรักษาพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสภาพที่โรงพยาบาลแต่ไม่นอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล

2. การบริการด้านการแพทย์แผนไทย หมายถึง บริการการรักษาพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและฟื้นฟูสภาพ ดังนี้

          - การรักษาด้วยยาสมุนไพร

          - การนวดเพื่อการรักษา-ฟื้นฟูสภาพ

          - การประคบสมุนไพรเพื่อการรักษา-ฟื้นฟูสภาพ

          - การอบไอน้ำสมุนไพรเพื่อการรักษา-ฟื้นฟูสภาพ

          - การทับหม้อเกลือ

          - การนวดเพื่อส่งเสริมสุขภาพ

          - การอบไอน้ำสมุนไพรเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ

          - การประคบสมุนไพรเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ

          - การให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพด้วยการสอนสาธิตด้านการแพทย์แผนไทย

          - การฝึกกายบริหารด้วยท่าฤๅษีดัดตน

3. การบริการด้านแพทย์ทางเลือก หมายถึง การบริการรักษาพยาบาลส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสภาพ ประกอบด้วย

          - การฝึกสมาธิบำบัด

          - ฝังเข็ม

          - การกดจุดบำบัด

          - การแพทย์ทางเลือกอื่นๆ ได้แก่ การนวดปรับสมดุลโครงสร้างร่างกาย

4. บริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก หมายถึง บริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

5. สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ หมายถึง โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aครั้ง
นิยามของค่า Aจำนวนครั้งที่มารับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในสถานบริการ สาธารณสุขของรัฐ
หน่วยของค่า Bครั้ง
นิยามของค่า Bจำนวนครั้งที่มารับบริการทั้งหมดของสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 20
ประชากรกลุ่มเป้าหมายประชาชนที่เข้ารับบริการในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ทุกระดับ
ค่าเป้าหมาย20.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

1) การบันทึกข้อมูลในระบบรายงาน 43 แฟ้ม

2) การรายงานจากจังหวัด

แหล่งข้อมูล

1) 43 แฟ้ม (Service/ Person/ Diagnosis_opd/ Drug_opd/ Procedure_opd/Provider)

2) ข้อมูลรายงานจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตไม่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดใช่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
Tags43 แฟ้ม
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2558

2559

2560

ร้อยละของผู้ป่วยนอกที่ได้รับบริการ

ร้อยละ

17.51

17.15

19.64

(ณ 11 ส.ค. 60)

 

ร้อยละผู้ป่วยนอกที่ได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน

ปี พ.ศ.

ร้อยละของผู้ป่วยนอกที่ได้รับบริการ

2553

5.78 

2554

11.92

2555

11.24

2556

14.05

2557

16.59 

2558

17.51

2559

17.15

2560

19.64

 
ที่มา : กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
เกณฑ์การประเมินผล

 

ปี 2561 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

1. ทบทวนรูปแบบการบริการ (Service Package) ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกทุกระดับตาม Service Plan

2. ชี้แจง และสร้างกลไกการมีส่วนร่วมของ CTMO     ทุกเขตสุขภาพ

3. สนับสนุนให้มีการจัดบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในระบบบริการสาธารณสุข

 

1. พัฒนาโรงพยาบาลเป้าหมายเข้าสู่กระบวนการรับรองคุณภาพ

  1.1 รพศ./รพท. เขตละอย่างน้อย 2 แห่ง (A-M1)

  1.2 รพช. จังหวัดละอย่างน้อย 2 แห่ง (M2-F3)

2. พัฒนา รพ.สต. สู่มาตรฐานบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

อำเภอละอย่างน้อย  2 แห่ง

สถานบริการทุกระดับมีการจัดบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสานที่มีคุณภาพมาตรฐาน ตามบริบทของหน่วยบริการ ได้แก่

   -คลินิกครบวงจรด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

(A-F3)

   - คลินิก OPD แพทย์แผนไทยคู่ขนาน(A-F3)

   - คลินิกบริการผู้ป่วยใน (IPD) ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

(A-M1)

- บริการรักษา ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค และฟื้นฟูสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ใน รพ.สต.

ผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  ที่ได้มาตรฐาน         ร้อยละ 20 แบ่งเป็น

- รพศ./ รพท. อย่างน้อยร้อยละ 10

- รพช. อย่างน้อยร้อยละ 20

- 30 

 

ปี 2562 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

ร้อยละ 20.5

 

ปี 2563 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

ร้อยละ 21

 

ปี 2564 :

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9 เดือน

รอบ 12 เดือน

 

 

 

ร้อยละ 21.5

 
วิธีการประเมินผล

1. ข้อมูลจาก HDC กระทรวงสาธารณสุข

2. ข้อมูลจากการตรวจราชการและนิเทศงานของกรมการแพทย์แผนไทยและ

    การแพทย์ทางเลือก

เอกสารสนับสนุน

1. คู่มือการพัฒนาระบบบริการสาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน

2. คู่มือการตรวจราชการและนิเทศงาน กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์

    ทางเลือก

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นายแพทย์ขวัญชัย วิศิษฐานนท์           ผู้อำนวยการสถาบันการแพทย์แผนไทย

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-1495647       โทรศัพท์มือถือ : 084-4391505         

    โทรสาร : 0-21495647                 E-mail : khwancha@health.moph.go.th

สถาบันการแพทย์แผนไทย

2. นายแพทย์เทวัญ ธานีรัตน์                 ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์ทางเลือก

    โทรศัพท์ที่ทำงาน: 02-1495636       โทรศัพท์มือถือ : 081-8723270

    โทรสาร : 02-1495636                  E-mail : tewantha@gmail.com

สำนักการแพทย์ทางเลือก

3. แพทย์หญิงรุ่งนภา ประสานทอง          ผู้อำนวยการสถาบันการแพทย์ไทย-จีน

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-1495676      โทรศัพท์มือถือ : 081-3565326

    โทรสาร : 02-1495677                  E-mail : rungnapa.pr@gmail.com

สถาบันการแพทย์ไทย-จีน           

4. นายสมศักดิ์ กรีชัย                         ผู้อำนวยการสำนักงานสนับสนุนเขตสุขภาพ                                                 และบริหารโครงการพิเศษ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-1495653       โทรศัพท์มือถือ : 081-6846683         

    โทรสาร : 02-1495653                 E-mail : augus_organ@hotmail.com

สำนักงานสนับสนุนเขตสุขภาพและบริหารโครงการพิเศษ

5. นางศรีจรรยา โชตึก                       ผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-9659490       โทรศัพท์มือถือ : 099-2459791

    โทรสาร : 02-9659490                 E-mail : kungfu55@gmail.com

สำนักยุทธศาสตร์

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

สำนักยุทธศาสตร์ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางกรุณา ทศพล                          พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-9659490       โทรศัพท์มือถือ : 089-7243816

    โทรสาร : 02-9659490                 E-mail : karunathailand4.0@gmail.com

2. นางสาวศศิธร  ใหญ่สถิตย์                 นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-9659490       โทรศัพท์มือถือ : 086-8812521

    โทรสาร : 02-9659490                 E-mail : kiwi_sida29@hotmail.com

3. นายชัยพร กาญจนอักษร                  แพทย์แผนไทยปฏิบัติการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-9659490       โทรศัพท์มือถือ : 095-4196394

    โทรสาร : 02-9659490                 E-mail : ckttmman414@hotmail.co.th

สำนักยุทธศาสตร์

4. นางสาวสุกัญญา  ชายแก้ว                นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5917809       โทรศัพท์มือถือ : 082-7298989

    โทรสาร : 02-9510218                 E-mail : sukunya0210@gmail.com

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>