ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ

ผลการดำเนินงาน >>

Update Delete

ชื่อตัวชี้วัดร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพ
Child KPIสร้าง KPI ย่อย
ปีงบประมาณ2561
ระดับตัวชี้วัดจังหวัด
ตัวชี้วัดที่013
Sort Order0
คำนิยาม

คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) หมายถึง การขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตในระดับพื้นที่ที่อยู่ใกล้ชิดกับประชาชน เกิดการบูรณาการเป้าหมาย ทิศทางและยุทธศาสตร์ร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนอย่างเป็นองค์รวม เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน โดยมีพื้นที่เป็นฐานและประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีความเป็นเจ้าของและภาวะการนำร่วมกัน โดยบูรณาการและประสานความร่วมมือในการนำไปสู่การสร้างเสริมให้บุคคล ครอบครัว และชุมชน มีสุขภาวะทางกาย จิต และสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีและเกิดความยั่งยืนสืบไป

คุณภาพ หมายถึง มีผลการดำเนินการ ดังนี้

          1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ตาม(ร่าง)ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ พ.ศ. .... 

          2. คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) มีการประชุม จัดทำแผนการดำเนินการและคัดเลือกประเด็นที่สำคัญตามบริบทในพื้นที่ที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตมาดำเนินการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหา อย่างน้อย 2 ประเด็น ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่น ตามองค์ประกอบ UCCARE และมีผลลัพธ์การพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอที่สามารถยกระดับขึ้นหนึ่งระดับทุกข้อ หรือตั้งแต่ระดับสามขึ้นไปทุกข้อ ตามแนวทางการพัฒนา DHS – PCA

อำเภอ หมายถึง เป็นหน่วยราชการบริหารรองจากจังหวัด มีนายอำเภอเป็นหัวหน้าปกครองและเป็นผู้นำในการทำงานร่วมกับท้องถิ่นและภาคส่วนต่างๆในการดูแลประชาชนและส่งเสริมให้ประชาชนดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชนร่วมกัน โดยใช้ปัญหาความทุกข์ยากของประชาชนในพื้นที่ระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ เป็นเป้าหมายร่วมภายใต้บริบทของแต่ละพื้นที่จำนวน 878 แห่ง

หน่วยตัวชี้วัดร้อยละ
หน่วยของค่า Aแห่ง
นิยามของค่า Aจำนวนอำเภอที่มีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
หน่วยของค่า Bแห่ง
นิยามของค่า Bจำนวนอำเภอในจังหวัด (ทั้งประเทศ = 878 แห่ง)
หน่วยของค่า C
นิยามของค่า C
หน่วยของค่า D
นิยามของค่า D
หน่วยของค่า E
นิยามของค่า E
หน่วยของค่า F
นิยามของค่า F
สูตรคำนวนตัวชี้วัด(A/B)*100
Operator>=
เกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 50
ประชากรกลุ่มเป้าหมายอำเภอที่มีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
ค่าเป้าหมาย50.00
Max Value100.00
วิธีการจัดเก็บข้อมูล

การรายงาน

แหล่งข้อมูล

สำนักงานเขตสุขภาพ / สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด /สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ/โรงพยาบาล

ตัวชี้วัดระดับกระทรวงไม่
ตัวชี้วัดระดับเขตใช่
ตัวชี้วัดระดับจังหวัดไม่
ตัวชี้วัดสำคัญไม่
ตัวชี้วัด Area Baseไม่
TagsPA,สตป.
ระยะเวลาการประเมินผลไตรมาส 2 และ 4
ข้อมูล Baseline

Baseline data

หน่วยวัด

ผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.

2558

2559

2560

 

 

 

 

 

 
เกณฑ์การประเมินผล

ปี 2561:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

การแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District Health Board : DHB)

มีการประชุม จัดทำแผนการดำเนินการและคัดเลือกประเด็นที่สำคัญตามบริบทในพื้นที่ที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตมาดำเนินการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหา อย่างน้อย 2 ประเด็น

มีการดำเนินการ

การบริหารจัดการ

สร้างกลไก และพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยการ

บูรณาการ และมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

มีการสรุปผลการดำเนินการทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโดยกระบวนการชื่นชมและเสริมพลัง ร้อยละ 50

 

 

 

 

 

 

 

 

ปี 2562:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

 

 

ร้อยละ 60

 

 

 

 

ปี 2563:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

 

 

ร้อยละ 70

 

 

 

 

ปี 2564:

รอบ 3 เดือน

รอบ 6 เดือน

รอบ 9เดือน

รอบ 12เดือน

 

 

 

ร้อยละ 80

วิธีการประเมินผล

1. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ตาม (ร่าง)ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ พ.ศ. .... 

2. มีแผนและดำเนินการตามแผน โดยมีระบบบริหารจัดการแก้ปัญหาคุณภาพชีวิตระดับ

    อำเภอ โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน อย่างน้อยอำเภอละ 2 เรื่อง

3. มีการประเมินประเด็นปัญหาคุณภาพชีวิต ตามองค์ประกอบ UCCARE และมีผลลัพธ์  

   การพัฒนาคุณภาพชีวิตและระบบสุขภาพระดับอำเภอที่สามารถยกระดับขึ้นหนึ่งระดับ

   ทุกข้อหรือตั้งแต่ระดับสามขึ้นไปทุกข้อ ตามแนวทางการพัฒนา DHS – PCA โดยผู้เยี่ยม

   ระดับจังหวัด/ระดับเขต (External Audit)

 

เอกสารสนับสนุน

1. (ร่าง)ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

   พ.ศ. .... 

2. คู่มือแนวทางการดำเนินการคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

3. หนังสือการขับเคลื่อนระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ.) ฉบับประเทศไทย

ผู้ให้ข้อมูลทางวิชาการ/ผู้ประสานงานตัวชี้วัด

1. นพ.ยงยศ  ธรรมวุฒิ                       ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารยุทธศาสตร์                                                    สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901238       โทรศัพท์มือถือ : 081-9230536

    โทรสาร : 02-5901239                 E-mail : yyt2508@gmail.com

2. นพ.ธีรพงศ์ ตุนาค                          ผู้อำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901761       โทรศัพท์มือถือ : 090-1069466

    โทรสาร : 02-5901802                 E-mail : -

3. นพ.ประสิทธิ์ชัย มั่งจิตร                   รองผู้อำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901238       โทรศัพท์มือถือ : 081-9230536

    โทรสาร : 02-5901239                 E-mail : peed.pr@hotmail.com

หน่วยงานประมวลผลและจัดทำข้อมูล (ระดับส่วนกลาง)

กองบริหารการสาธารณสุข 

สำนักงานบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย

สำนักงานสนับสนุนระบบปฐมภูมิและคลินิกหมอครอบครัว

ผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงาน

1. นางเกวลิน  ชื่นเจริญสุข                  รองผู้อำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901637      โทรศัพท์มือถือ : 089-8296454

    โทรสาร : 02-5901631                 E-mail : kavalinc@hotmail.com

2. นางสมสินี  เกษมศิลป์                     นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901637      โทรศัพท์มือถือ : 081-7472052

    โทรสาร : 02-5901631                 E-mail : somnee@hotmail.com

3. นางเอื้อมพร  จันทร์ทอง                 นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการ

    โทรศัพท์ที่ทำงาน : 02-5901238        โทรศัพท์มือถือ : 081-1316800

    โทรสาร : 02-5901239                E-mail : dhb.moph@gmail.com

รหัสจังหวัดตัวชี้วัด Area base
Areabase Kpi Regioncode
หมายเหตุ

การบันทึกค่า B (จำนวนอำเภอ)

  • ให้บันทึกจำนวนอำเภอในจังหวัด

การบันทึกค่า A (จำนวนอำเภอที่มีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ผ่านเกณฑ์คุณภาพ)

  • ให้บันทึกรวมจำนวนอำเภอที่มีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ณ สิ้นสุดไตรมาสนั้นๆ
  • เช่น ไตรมาส 1 ผ่าน 5 อำเภอ ให้บันทึก 5, ไตรมาส 2 ไม่มีผ่านเพิ่ม ให้บันทึกเป็น 5, ไตรมาส 3 ผ่านเพิ่มอีก 2 อำเภอ ให้บันทึกเป็น 7 เป็นต้น
Last Update2021-03-24 14:22:39
Download
Log ผลการดำเนินงาน >>